ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร

บทบาท-ผลงาน
31
กรกฎาคม
2565
เกร็ดประวัติศาสตร์ระหว่าง 'เปรม บุรี' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ท่ามกลางบรรยากาศงานสังสรรค์ภายหลังสิ้นสุดสงครามของเหล่าผู้กล้าเสรีไทยสายต่างประเทศ ณ บ้านถนนตก พร้อมด้วยเรื่องราวเส้นทางการเข้าร่วมขบวนการเสรีไทยของสองพี่น้องตระกูลบุรี คือ 'เปรม' และ 'รจิต'
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ธันวาคม
2564
หากจะกล่าวถึงการที่ประเทศไทยสามารถผ่านพ้นช่วงวิกฤตจากสงครามโลกครั้งที่ 2 มาได้ และดำรงคงไว้ซึ่งเอกราช มิอาจปฏิเสธได้ว่าส่วนที่สำคัญที่สุดเพราะเรามี "ขบวนการเสรีไทย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
พฤษภาคม
2564
ความแตกต่างระหว่างนายปรีดีกับหลวงพิบูลสงครามในด้านรูปแบบและรสนิยมการรับประทานอาหารเช้า ซึ่งพอจะสื่อนัยยะของแนวความคิดทางสังคมการเมืองได้
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2564
ประวัติเดิมของ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ (ดร.ปรีดี พนมยงค์) และผลงานของท่านที่ได้ทำใว้ให้แก่ประเทศชาติอย่างมหาศาล อันควรจารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ ได้มีผู้กล่าวขวัญถึง และ เขียนบันทึกเรื่องราวไว้อย่างมากมายในที่ต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งซึ่งยังมิได้เขียนหรือบันทึกเรื่องราวขึ้นไว้ ข้าพเจ้าจึงเห็นสมควรเขียนขึ้นไว้ ณ ที่นี้ คือ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค์) ได้ทำงานเกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ไว้อย่างไรบ้าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มีนาคม
2564
นายทวี ตะเวทีกุล เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยภายในประเทศชั้นผู้ใหญ่ผู้หนึ่งซึ่งได้รับความไว้วางใจและมีความใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์หัวหน้าขบวนการนับตั้งแต่แรกเริ่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2564
ภายหลังเหตุการณ์ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ 2592 ได้พ่ายแพ้ กรมตำรวจได้ตั้งกองบัญชาการปราบปรามขึ้นที่วังปารุสกวัน ภายใต้การอำนวยการของพลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์ จุดประสงค์หลักคือต้องการกวาดล้างนักการเมืองฝ่ายพลเรือนของนายปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2564
“ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดให้ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นก็เป็นประชาธิปไตย. ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใดถือตามความเห็นชอบของอภิสิทธิ์ชน และจำกัดสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนพึงมีได้ รัฐธรรมนูญนั้นก็ไม่ใช่ประชาธิปไตย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
Subscribe to วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร