วิทยาศาสตร์
บทความ • วันนี้ในอดีต
21
ตุลาคม
2567
ในวาระชาตกาล 126 ปี ดร.ตั้ว ลพานุกรม สมาชิกคณะราษฎรผู้ก่อการอภิวัฒน์คนสำคัญ นักวิทยาศาสตร์ผู้รักประชาธิปไตยที่ต้องการให้ประชาชนในประเทศทานอาหารที่มีประโยชน์จึงเห็นความสำคัญของถั่วเหลือง โดยบทความนี้มาจากการบันทึกของบุคคลใกล้ชิดคือ นายแพทย์ยงค์ ชุติมา ที่ได้ร่วมเดินทางสำรวจด้านอาหารและวางนโยบายส่งเสริมการปลูกถั่วเหลืองในรัฐบาลคณะราษฎร
ปรีดีปรัชญา : ปรัชญาคืออะไร? "จิตใจวิทยาศาสตร์: พื้นฐานสู่การเข้าใจปรัชญาที่เป็นวิทยาศาสตร์" (ตอนจบ)
6
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ในทางปรัชญา คือ สสารทางสังคม ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ที่มักจะสังเกตสิ่งรอบตัว เพื่อที่จะนำมาพิเคราะห์หาข้อเท็จจริง และการกำหนดกฎเกณฑ์ภายในสังคมนั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2567
วิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เราได้เข้าใจหลักความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันแล้ว ยังช่วยให้เราเพลิดเพลินกับการสืบเสาะบางอย่างเพื่อที่จะค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่รู้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2567
ธรรมชาติปรัชญา ได้มีการค้นพบสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นที่มาของคำว่า "ไซเอนส์" หรือในภาษาไทยแปลว่า "วิทยาศาสตร์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2566
วิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งสองประการคือ วิถีวิวัฒน์และวิถีอภิวัฒน์ รวมไปถึงความหมายและรากที่มาของศัพท์ทางวิชาการอย่าง “ไดอาเล็คติคส์” ที่แปลได้ว่า ประติการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
พฤศจิกายน
2566
การรับรู้ของผู้คนในยุคหลังการอภิวัฒน์ 2475 ต่อคำว่า “วิทยาศาสตร์” มักถูกมองให้เป็นเรื่องของนักวิทยาศาสตร์ มิได้ข้องเกี่ยวกับตนแต่อย่างใด หรือกล่าวได้ว่า ผู้คนยังคงมอง “วิทยาศาสตร์” เป็นเรื่อง “อื่น” มิใช่เรื่องใกล้ตัวใดที่ต้องให้ความสำคัญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2566
ปรัชญาของความรู้และความหมายของ “วิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย” ข้อควรพึงพิจารณา คำนึงถึง รวมทั้งการวิพากษ์วิจารณ์ถึงเผด็จการและการร่างรัฐธรรมนูญปี 59-60 ที่ไม่เป็นประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to วิทยาศาสตร์
18
ตุลาคม
2566
กังวาฬ พุทธิวนิช นำเสนอว่าด้วย คำถามถึงการนำคดีสวรรคตกลับมาพิจารณาใหม่ ผ่านคำอธิบายของ ศ. (พิเศษ) จรัญ ภักดีธนากุล ที่ให้ความเห็นเชิงกฎหมายและความเป็นไปได้ของการนำคดีสวรรคตขึ้นมาพิจารณาใหม่อีกครั้ง