ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วิลาศ โอสถานนท์

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทบาท-ผลงาน
7
พฤศจิกายน
2565
ชีวิตของคนคนหนึ่ง ที่จะยืนยาวมาเกือบถึง 100 ปี ย่อมถือว่าเป็นบุญยิ่งนัก แต่การที่จะสามารถครองตนดำรงชีวิตอย่างมีค่า ตลอดอายุขัยย่อมยากยิ่งกว่า...
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
บทบาท-ผลงาน
16
ธันวาคม
2564
เมื่อกองทัพญี่ปุ่นยาตราทัพเข้ามาไทยได้ โดยทหารไทยได้รับคำสั่งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุดมิให้ทำการต่อต้านแล้ว ฝ่ายญี่ปุ่นก็เริ่มละเมิดข้อตกลง ข้อ ๒. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และวางยามล้อมรอบสถานทูตอังกฤษ อเมริกัน เนเธอร์แลนด์ และได้จัดตั้งองค์การตำรวจปราบปรามที่นาซีเยอรมันเรียกว่า “แกสตาโป” ญี่ปุนเรียกว่า “แกมเปอิ” ตามล่าตัวเสรีจีนที่เป็นหน่วยสาขาของจีนซึ่งโฆษณาทิ้งใบปลิวโจมตีญี่ปุ่นตลอดมาก่อนญี่ปุ่นเข้าเมืองไทย 
แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์: ผู้ริเริ่มก่อการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ๒๔๗๕ ตอนที่สอง โดย ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
บทบาท-ผลงาน
12
พฤศจิกายน
2563
ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" หรือที่มักเรียกกันว่า กบฏวังหลวง เหตุใด "จึงมิใช่กบฏต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
Subscribe to วิลาศ โอสถานนท์