ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วิลาศ โอสถานนท์

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กันยายน
2567
การข่าวและการต่างประเทศไทยก่อนเกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2482 จากหลักฐานชั้นต้นสำคัญคือ รายงานการประชุมคณะรัฐมนตรี (พิเศษ) วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2482 เรื่อง สงคราม และบันทึกการประชุมกรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2482
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
สิงหาคม
2567
บทความฉบับนี้นำเสนอรายละเอียดของเหตุการณ์ภายหลังการเข้ามาของประเทศญี่ปุ่น และบทบาทกรมโฆษณาการในการทำสงครามจิตวิทยา
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทบาท-ผลงาน
7
พฤศจิกายน
2565
ชีวิตของคนคนหนึ่ง ที่จะยืนยาวมาเกือบถึง 100 ปี ย่อมถือว่าเป็นบุญยิ่งนัก แต่การที่จะสามารถครองตนดำรงชีวิตอย่างมีค่า ตลอดอายุขัยย่อมยากยิ่งกว่า...
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
Subscribe to วิลาศ โอสถานนท์