ศาลรัฐธรรมนูญ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
สิงหาคม
2567
บทกล่าวนำ หัวข้อสันติธรรมภายใต้ระบบพหุขั้วอำนาจโลก โดย รศ. ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ใน PRIDI Talks #27: 79 ปี วันสันติภาพไทย : “ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ” วันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 10.30-12.30 น. ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2566
‘รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน’ กล่าวถึง เหตุที่รัฐธรรมนูญปี 2560 จึงสมควรเป็นโมฆะ โดยกล่าวถึง ลักษณะที่แปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญ 2560 และมุมมองของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
19
ตุลาคม
2566
ศาลหรือองค์กรตุลาการเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ทำให้การทำรัฐประหารได้รับความชอบธรรม ส่งผลให้คณะรัฐประหารเหล่านั้นกลายเป็น “รัฏฐาธิปัตย์” และเนื่องด้วยเพราะประชาชนไม่ต่อต้านมากพอตุลาการจึงไม่อาจทานคณะรัฐประหารได้?
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2566
องค์กรตุลาการอย่าง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ถูกหยิบยกเข้ามาร่วมในสมการทางการเมือง เนื่องจากตลอดระยะเวลานับตั้งแต่การรัฐประหารและความชะงักงันในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา เป็นเวลากว่า 17 ปี ที่สังคมไทยต้องเผชิญกับนิติสงคราม
เมื่อ “ศาลรัฐธรรมนูญ” ชี้ “ค่าไฟทำไมแพง” : การฟ้องคดีเกี่ยวกับหน้าที่ของรัฐตามรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก
25
เมษายน
2566
กรณีศึกษาการฟ้องร้องกรณี "ค่าไฟแพง" ผ่านกระบวนการต่อสู้คดี เพื่อค้นหาคำตอบต่อประเด็นค่าไฟฟ้าที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยในการประกอบกิจการบริหารงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนซึ่งมีส่วนร่วมกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ อันนำไปสู่การต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ศาลรัฐธรรมนูญ
13
มกราคม
2566
ศ.ดร.ไทเรล ฮาเบอร์คอร์น กล่าวถึงช่องว่างทางกฎหมายที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ตลอดจนบทบาทของอาจารย์ในสถานศึกษาซึ่งต้องช่วยสร้างพื้นที่ปลอดภัยแก่นักศึกษา นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการด้านสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ผ่านกรณี ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงทิศทางของการต่อสู้ของกลุ่ม LGBTQIA+ ของไทยในอนาคต