ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามมหาเอเชียบูรพา

วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
ญี่ปุ่นละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และนายปรีดี พนมยงค์ได้ถูกผลักให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
วันนี้ในอดีต
11
กรกฎาคม
2567
ในวาระรำลึก 97 ปี ชาตกาล เสน่ห์ จามริก ในฐานะ ต.ม.ธ.ก. รุ่น 6 ท่านเคยเล่าถึงปรีดี พนมยงค์ ต.ม.ธ.ก. และการเมืองไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ไว้พร้อมกับอัตชีวประวัติสำคัญในแต่ละช่วงวัย
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ชีวิต-ครอบครัว
18
กุมภาพันธ์
2567
ปลายเดินทางเพื่อที่จะหาความรู้และประสบการณ์ จากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่สำคัญ และต้องพบกับการตัดสินใจครั้งใหญ่ที่มีความยากลำบาก
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2566
เรื่องราวของประเทศไทยในช่วงภาวะการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยผู้เขียนได้หยิบยกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดอันร้ายแรงในการที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามอันเป็นสิ่งที่ละเมิดต่ออำนาจนิติรัฐภายในประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
มกราคม
2566
กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติย่อของ "คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร" สตรีผู้อุทิศตนเพื่องานสังคมสงเคราะห์ ตลอดจนบอกเล่าเรื่องราวการทำงาร ความรัก และครอบครัว ที่ได้หล่อหลอมให้สตรีผู้นี้เป็นบุคคลที่มีฉากและชีวิตโลดแล่นมากว่า 5 แผ่นดิน โดยตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานและอุดมการณ์เพื่อประโยชน์แก่สังคมอย่างสุดความสามารถ
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2565
แม้จะมีบันทึกรายนามของวีรชนที่เสียชีวิตจากการปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น แต่จากการค้นคว้าของผู้เขียนยังคงไม่ปรากฏเอกสารที่กล่าวถึงวีรกรรมการต่อสู้ของครูลำยองอย่างเป็นทางการ มีเพียงเรื่องเล่าจากผู้ที่อยู่ร่วมในช่วงเวลาเดียวกัน
Subscribe to สงครามมหาเอเชียบูรพา