ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามมหาเอเชียบูรพา

แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์: ผู้ริเริ่มก่อการอภิวัฒน์ประชาธิปไตย ๒๔๗๕ ตอนที่สอง โดย ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ
บทบาท-ผลงาน
21
พฤษภาคม
2564
10 ผลงานชิ้นสำคัญของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น คืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรบ้าง อ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ในบทความนี้
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2564
จากการที่ได้มีโอกาสศึกษาและทำความเข้าใจเค้าโครงการเศรษฐกิจมาบ้างนั้น ผู้เขียนมักจะตั้งคำถามกับตัวเองเสมอว่า หากเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับการนำเสนอในปี ๒๔๗๖ ได้รับการยอมรับและถูกประกาศใช้ผ่านร่างกฎหมายที่สำคัญ ๒ ฉบับ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกอบเศรษฐกิจ พุทธศักราช ๒๔๗๖ และร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร พุทธศักราช ๒๔๗๖ แล้วสังคมสยามในเวลานั้น และในเวลาต่อมาจะพึงมีรูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลงไปเช่นไรบ้าง  
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2564
วันที่ 21 ธันวาคม 2484 (หลังการบุกของญี่ปุ่นเพียง 13 วัน) จอมพล ป. ได้ลงนามในกติกาสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น และในวันที่ 25 มกราคม 2485 ในเวลาเพียงเดือนครึ่งถัดมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
บทสัมภาษณ์
27
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากบทสัมภาษณ์อาจารย์ไมเคิล ชาร์นี่ย์ แห่ง SOAS มหาวิทยาลัยลอนดอน ถึงเรื่องสงครามโลกครั้งที่ 2 บทบาทและท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตรกับประเทศไทย และเรื่องทางรถไฟที่เป็นยุทธศาสตร์สำคัญในช่วงสงคราม
บทบาท-ผลงาน
19
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ปัญหาการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก  สินค้าบางอย่างที่ในปัจจุบันไม่ได้หายากอย่างเช่น ผ้าห่ม และเสื้อผ้า กลับมีค่า มีราคา และมีความสำคัญเป็นอย่างมาก  
แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของ Lord Mountbatten ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to สงครามมหาเอเชียบูรพา