สงครามมหาเอเชียบูรพา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2568
พลตรี สมบูรณ์ ศรานุชิต โดยเป็นผู้วางแผนยุทธการร่วมกับขบวนการเสรีไทยในภาคเหนือ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยภายหลังกลับมีบทบาทในการก่อกบฏเสนาธิการปี 2491 เพื่อต่อต้านคณะรัฐประหาร เพื่อยึดมั่นในอุดมการณ์ "ทหารอาชีพ" จนถึงวาระสุดท้าย.
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
มิถุนายน
2568
รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ มีแนวคิดเศรษฐกิจที่เน้นความเป็นธรรม เสมอภาค และเอกราชของชาติ โดยสนับสนุนสหกรณ์สังคมนิยม การจัดสวัสดิการถ้วนหน้า และการใช้เทคโนโลยีพัฒนาเศรษฐกิจ ช่วงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
พฤษภาคม
2568
นิสิตจุฬาฯ กว่า 298 คนสมัครเป็นพลพรรคในขบวนการเสรีไทยโดยสมัครใจเพื่อสู้กับญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาจึงสร้างอนุสรณ์สถาน นร. สห. 2488 ขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งการเสียสละและกุญแจไขความจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกลบเลือน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2568
พันโท หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัฒน มีบทบาทสำคัญทางการทหารในขบวนการเสรีไทยสายอังกฤษ สะท้อนถึงบทบาทของฝ่ายทหารในขบวนเสรีไทยตั้งแต่ยุทธศาสตร์การจัดตั้งเสรีไทย และ การจัดตั้งพลพรรคทหารในจังหวัดต่าง ๆ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มกราคม
2568
บทความนี้ศึกษาบทบาทของสตรี ุ6 ท่านในขบวนการเสรีไทย ซึ่งมีส่วนสำคัญที่ได้ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวภายในขบวนการฯ ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเพื่อรักษาเอกราชของชาติไทยจากการครอบงำของญี่ปุ่นและนำไปสู๋สันติภาพในที่สุด
บทความ • วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
ญี่ปุ่นละเมิดข้อตกลง ข้อ 2. ที่ว่า “ญี่ปุ่นขอเพียงส่งกองทัพผ่านประเทศไทยเท่านั้น โดยจะพักอยู่ที่กรุงเทพฯ” คือ ฝ่ายกองทัพญี่ปุ่นได้พักอยู่ในกรุงเทพฯ และควบคุมจุดยุทธศาสตร์ไว้หลายแห่ง และนายปรีดี พนมยงค์ได้ถูกผลักให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
บทความ • วันนี้ในอดีต
11
กรกฎาคม
2567
ในวาระรำลึก 97 ปี ชาตกาล เสน่ห์ จามริก ในฐานะ ต.ม.ธ.ก. รุ่น 6 ท่านเคยเล่าถึงปรีดี พนมยงค์ ต.ม.ธ.ก. และการเมืองไทยสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ไว้พร้อมกับอัตชีวประวัติสำคัญในแต่ละช่วงวัย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to สงครามมหาเอเชียบูรพา
18
กุมภาพันธ์
2567
ปลายเดินทางเพื่อที่จะหาความรู้และประสบการณ์ จากการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่สำคัญ และต้องพบกับการตัดสินใจครั้งใหญ่ที่มีความยากลำบาก