สถาบันปรีดี พนมยงค์
ข่าวสาร
12
มิถุนายน
2563
กิจกรรมรำลึกครบรอบ 88 ปี การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มิถุนายน
2563
ในการเสวนาเรื่อง “ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ฉบับ 27 มิถุนายน 2475” เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2550 ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ นายสุพจน์ ด่านตระกูล ได้ร่วมอภิปรายด้วย ความตอนหนึ่งดังนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
พฤษภาคม
2563
การรำลึกครบรอบ 120 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้รักชาติ รักประชาธิปไตยและสันติธรรมอย่างแท้จริง ถ้าจะให้เป็นไปอย่างมีความหมายและเกิดประโยชน์ต่อสังคมปัจจุบันแล้ว เราควรจะกลับไปศึกษาจากประสบการณ์และความคิดทางการเมืองของเขา แล้วถอดบทเรียนเพื่อให้สังคมเดินไปข้างหน้า ไม่ก้าวพลาดซ้ำวนเวียน หรือเดินถอยหลังเข้าคลอง
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
11
พฤษภาคม
2563
ซิมโฟนีหมายเลข 4 หรือ “ปรีดีคีตานุสรณ์” เป็นผลงานของ สมเถา สุจริตกุล วาทยากรและนักประพันธ์เพลงคลาสสิกชาวไทย เพื่อร่วมฉลองในวาระครบรอบ 100 ปีชาตกาล รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ วันที่ 11 พฤษภาคม 2543
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2563
ในอดีต มาตรการหนึ่งที่รัฐเคยใช้ในการหาเงินทุนมาแล้วหลายครั้ง ก็คือการออกพันธบัตรให้คนมากู้เงินในราคาถูก เปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนช่วยชาติในยามคับขัน ถือเป็นความร่วมมือร่วมใจช่วยเหลือกันของรัฐและประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
เมษายน
2563
ดังได้เสนอไว้ในบทความเรื่อง ภราดรภาพ (Solidarity) คืออะไร ว่าความคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้มิใช่เป็นเพียงปรัชญา หรืออุดมการณ์ทางการเมืองหากเชื่อมโยงกับธรรมชาติของมนุษย์ที่มีข้อบ่งชี้ในทางชีววิทยาซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์แล้ว แนวคิดเรื่องภราดรภาพนิยมนี้ยังถือเป็นแนวคิดเชิงศีลธรรมที่ปรากฏในคำสอนของทุกศาสนาด้วย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
เมษายน
2563
ข้อมูลจากการเสวนา ปรีดีศึกษา ครั้งที่ ๒ “โมฆสงคราม งานนิพนธ์ที่ค้นพบล่าสุดของปรีดี พนมยงค์” ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”
เชื่อว่าเราหลายคนคงเคยเห็นท่อดับเพลิงสองหัว ซึ่งบางคนจะทราบว่า มันมีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษ (และเข้าใจว่าอีกหลายภาษา เพราะภาษาฝรั่งเศสก็เรียกเช่นนี้ด้วย) ว่า “Siamese Connection”
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
Subscribe to สถาบันปรีดี พนมยงค์
2
เมษายน
2563
ข้อมูลจากบทความ “คณะสุภาพบุรุษกับวรรณกรรมราษฎร” โดย ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ในหนังสือ “ปรีดีศึกษา และปาฐกถาศิลปกับสังคม”
“วรรณกรรมแนวทดลอง” คือรูปแบบการเขียนงานวรรณกรรมประเภทเรื่องแต่ง ที่ใช้วิธีการเล่าเรื่องแบบใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากรูปแบบของเรื่องเล่ามาตรฐานทั่วไป ที่เล่าเรื่องแบบตรงไปตรงมาเหมือนนิยายหรือนิทานที่เราคุ้นเคย มีตัวละคร มีฉาก มีเนื้อเรื่องเป็นเส้นตรงและอาจจะมีการหักมุมตอนท้ายบ้าง