ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สถาบันพระมหากษัตริย์

16
ตุลาคม
2566
เรื่องราวเกี่ยวกับ รัฐบุรุษอาวุโส คนแรกและคนเดียวในประเทศไทย กับราชบัลลังก์กษัตริย์ ผู้เขียน พยายามจะชี้ให้เห็นว่า คนอย่างอาจารย์ปรีดีนั้น ควรจัดอยู่ในประเภทคนที่ปกป้องสถาบัน คือคนที่คิดล้มล้างสถาบันกันแน่ หนังสือชุดนี้ตีพิมพ์ระหว่างปี 2517-2519 รวบรวมจัดพิมพ์โดย สุพจน์ ด่านตระกูล
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
บทบาท-ผลงาน
20
ธันวาคม
2563
ในช่วง 14 ปีภายใต้การนำของท่าน ดร.ปรีดี ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยได้ก้าวหน้าขึ้นมาก หากไม่มีการปฏิวัติรัฐประหารมาขัดจังหวะ การเมืองไทยก็คงจะมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพมากกว่านี้
บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
Subscribe to สถาบันพระมหากษัตริย์