ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สภาผู้แทนราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
6
กุมภาพันธ์
2567
หลังจากที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทำให้มีการหลั่งไหลของวัฒนธรรมตะวันตก และมีการค้นคว้า คิดค้นสิ่งรอบตัวที่เป็นวิทยาศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
17
มกราคม
2567
งบฯ กลาง เป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาลในการใช้งบประมาณได้คล่องตัวในการดำเนินนโยบาย หรือสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนในรายจ่ายในอนาคต แต่ตลอดระยะ 10 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีแนวโน้มที่จะตั้งงบฯ กลางเพิ่มสูงขึ้น ส่วนที่น่าจะมีปัญหามากที่สุดก็คือ งบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉินหรือจำเป็น ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีพฤติกรรมที่ใช้จ่ายงบฯ กลาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินนโยบาย ทั้งที่รัฐบาลสามารถตั้งส่วนนี้ได้ในรายการและแผนงานปกติ
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2566
สิ่งสำคัญก้าวแรกที่จะนับได้ว่าเป็นชัยชนะก้าวแรกของประชาชนอย่างแท้จริง คือ การมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นฝ่ายประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่ง่าย เนื่องด้วยกฎกติกาที่เขียนโดยกลุ่มบุคคลที่สืบทอดอำนาจมาจากการรัฐประหารนั้น ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
วันนี้ในอดีต
9
พฤษภาคม
2566
พระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดย นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย​  
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2565
10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 "สถาปนาธนาคารชาติ" อันเกิดจากความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธนาคารชาติบังเกิดขึ้นด้วยกิจการพัฒนาชาติเพื่อเพิ่มหลักประกันความมั่นคงทางการเงินและทุนสำรองของประเทศ อีกทั้งในการดังกล่าวนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" เพื่อเป็นกลไกสำคัญทางเศรษฐกิจแก่ความผาสุกของชาติและพลเมือง
Subscribe to สภาผู้แทนราษฎร