สภาผู้แทนราษฎร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
กรกฎาคม
2566
สิ่งสำคัญก้าวแรกที่จะนับได้ว่าเป็นชัยชนะก้าวแรกของประชาชนอย่างแท้จริง คือ การมีนายกรัฐมนตรีที่เป็นฝ่ายประชาธิปไตย ซึ่งไม่ใช่สิ่งที่ง่าย เนื่องด้วยกฎกติกาที่เขียนโดยกลุ่มบุคคลที่สืบทอดอำนาจมาจากการรัฐประหารนั้น ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยและความเป็นธรรม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มิถุนายน
2566
เรื่องราวการเปิดประชุมสภาครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม ภายใต้ระบอบใหม่นี้เองฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติดำเนินการนโยบายต่างๆ ผ่านสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ใช้สิทธิออกเสียงแทนประชาชนทั่วประเทศ
บทความ • วันนี้ในอดีต
9
พฤษภาคม
2566
พระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดย นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2565
10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 "สถาปนาธนาคารชาติ" อันเกิดจากความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธนาคารชาติบังเกิดขึ้นด้วยกิจการพัฒนาชาติเพื่อเพิ่มหลักประกันความมั่นคงทางการเงินและทุนสำรองของประเทศ อีกทั้งในการดังกล่าวนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" เพื่อเป็นกลไกสำคัญทางเศรษฐกิจแก่ความผาสุกของชาติและพลเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to สภาผู้แทนราษฎร
15
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เสนอวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตยว่าด้วยเรื่อง "สภาเดี่ยว" ซึ่งเป็นข้อเสนอต่อจาก "พรรคใดบ้างที่สามารถป้องกันผู้แทนขายตัว", "วิธีให้ราษฎรถอดถอนผู้แทน (recall)", "วิธีเลือกตั้งจากง่ายไปสู่ยาก", "เสนอให้รัฐจ่ายค่าป่วยการให้ราษฎรที่มาลงคะแนน" และ "ชนรุ่นใหม่จะมีทางได้เป็นผู้แทนในทางปฏิบัติหรือไม่"