ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมุดปกเหลือง

แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องสมุดปกเหลืองหรือเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านบทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ที่อธิบายที่มาและหลักการของสมุดปกเหลืองในอดีตรวมทั้งการส่งต่อหลักการสำคัญทางเศรษฐกิจที่สังคมไทยนำมาประยุกต์และปฏิบัติได้จริงจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
บทบาท-ผลงาน
13
พฤษภาคม
2566
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต อภิปรายและแสดงทัศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้พลิกความคิดของสังคมไทย ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
12
พฤษภาคม
2566
ธรรมเกียรติ กันอริ อภิปรายทรรศนะแห่งประชาธิปไตยของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ได้แสดงทรรศนะในการอภิปรายเรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับประชาธิปไตยไทย" ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2566
สาระจากงาน "PRIMATES and ME: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์" ว่าด้วยเรื่องราวของวานรหรือลิงกับมนุษย์โดยมองผ่านแง่มุมต่างๆ มุ่งเน้นด้านไพรเมตวิทยา (Primatology) ผสมผสานเข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มานุษยวิทยากายภาพ และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
Subscribe to สมุดปกเหลือง