สังคมนิยม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
มิถุนายน
2567
ปาฐกถาของนายปรีดี พนมยงค์ ในการชุมนุมสนทนาที่สามัคคีสมาคม (สมาคมนักเรียนไทย) ประเทศอังกฤษ เมื่อวันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม 2516 โดยมีการกล่าวถึงประชาธิปไตยทางการเมือง การเศรษฐกิจ และเปรียบเทียบในบริบทโลก
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2566
ความสัมพันธ์ทางการผลิตและพลังในการผลิต ล้วนเกี่ยวโยงระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และทรรศนะทางสังคมที่ดำรงอยู่กับชีวปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้คนในแต่ละโครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2565
ผู้เขียนได้บอกเล่าเรื่องราวประสบการณ์ทางการเมืองของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในประเทศอังกฤษ โดยมีที่มาซึ่งเกิดขึ้นขณะที่นายปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข ต้องระเห็จระเหินไปยังต่างแดน ทว่า ระหว่างการเดินทางในครานั้นก็ได้นำพาให้ทั้งสองไปพบเจอกับ 'เจมส์ แม็กซ์ตัน' (James Maxton) สมาชิกสภาอังกฤษแห่งพรรคแรงงานอิสระ (Independent Labour Party: ILP)
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to สังคมนิยม
14
กันยายน
2565
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ หยิบยกข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของความเป็นอนิจจังที่ปรากฏขึ้นจากทั่วทุกสารทิศ เพื่อนำเสนอถึงการกลวิธี ลักษณะ และรูปแบบ ที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเก่าไปสู่ระบอบใหม่