ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สันติภาพ

แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2565
พลังทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อความคิดของมนุษย์ ด้วยการอภิปรายรากฐานเชิงสัญลักษณ์และทฤษฎีของสันติวัฒนธรรม รวมถึงสาเหตุความรุนแรงทางตรงและความรุนแรงเชิงโครงสร้างที่จำแนกไว้ทั้งสิ้น 5 ระดับ พร้อมลู่ทางไปสู่การสร้างสันติภาพ โดยอาศัยรากฐานทางวัฒนธรรมที่เกิดจากศาสนาและความเชื่ออันหลากหลายในเอเชีย และคำวิพากษข้อจำกัดของแนวคิดสันติวัฒนธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
24
มีนาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ชวนให้พิจารณาถึงสงครามที่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ ข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ นำมาซึ่งภัยสงครามที่สร้างความสูญเสียต่อมวลมนุษยชาติ เพราะถึงที่สุดแล้ว "การมีสันติภาพถือเป็นสิ่งดีที่สุด"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
16
มีนาคม
2565
บทกวีนี้ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ประชามิตร รายสัปดาห์ ฉบับวันที่ 10 มีนาคม 2489
บทสัมภาษณ์
29
กันยายน
2563
ปรัชญาทางการเมืองของข้าพเจ้า คือ สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย (Scientific Democratic Socialism) เพราะว่าประชาธิปไตยและสังคมนิยมควรมีพื้นฐานเป็นวิทยาศาสตร์
ชีวิต-ครอบครัว
26
กันยายน
2563
ความทรงจำของกลุ่มนักศึกษาที่มีต่อ "เพื่อนปาล" และของเพื่อนร่วมคุกคดีกบฏสันติภาพที่มีต่อ "คุณปาล"
แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2563
ข้อคิดเกี่ยวกับสันติภาพ และความสำคัญของเรื่องวันสันติภาพไทย จากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม” รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2563
ขบวนการเสรีไทยเกิดจากการรวมตัวของคนไทยทุกชนชั้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีความมุ่งหมายในการต่อสู้เพื่อเอกราช อธิปไตยและสันติภาพของประเทศ ผู้ที่เข้าร่วมขบวนการทุกท่านต้องถือว่า มีความเสียสละและความกล้าหาญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ได้เข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทยภายใต้การยึดครองของกองทัพญี่ปุ่น “ขอให้เราอย่านึกถึงตัวตนของบุคคล ซึ่งย่อมร่วงโรยไปตามกาลเวลา แต่ขอให้นึกถึงงานอมตะของเขา บุคคลอาจจะแตกต่างด้วยกำเนิด ด้วยฐานะและการศึกษา แต่การเสียสละเป็นยอดแห่งคุณธรรม ที่ยกให้มนุษย์อยู่ในระดับเดียวกัน”
Subscribe to สันติภาพ