ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สันติวิธี

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กรกฎาคม
2567
บทความนี้ศึกษาพัฒนาการองค์ความรู้เกี่ยวกับสันติวิธีและความไม่รุนแรงทางการเมืองไทยของศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ในทศวรรษ 2510-2550 โดยผลของความรุนแรงทางการเมืองไทยภายหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 คือต้นธารที่ก่อให้เกิดองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสันติวิธี
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เขียนถึงงานศึกษาเรื่องสันติวิธีของปรีดี พนมยงค์เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ว่าไปไกลกว่าเรื่อง “ความเป็นจริงในประวัติศาสตร์” อย่างสงครามยุทธหัตถีคือมีทฤษฎีสันติภาพและสันติวิธีเข้ากับวิธีการศึกษาในสาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
บทบาท-ผลงาน
13
พฤษภาคม
2566
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต อภิปรายและแสดงทัศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้พลิกความคิดของสังคมไทย ไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อครั้งอัญเชิญอัฐิธาตุของ 'นายปรีดี พนมยงค์' กลับสู่มาตุภูมิ เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
15
กุมภาพันธ์
2566
ข้อจำกัดของความพยายามในการต่อสู้แบบสันติวิธี คือ ความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ล้วนมีบ่อเกิดเกี่ยวเนื่องมาจาก "ระบอบอำนาจนิยม" พร้อมทั้งข้อแตกต่างระหว่างการใช้ความรุนแรงกับแนวสันติวิธีสำหรับการขับเคลื่อนข้อเรียกร้องของประชาชน ทั้งในแง่ของเป้าหมาย ทัศนคติ หลักการ ตลอดจนวิธีการ
แนวคิด-ปรัชญา
14
กุมภาพันธ์
2566
สันติวิธีเพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธรรมของมวลชนนั้น เป็นหนทางที่มิอาจจะละทิ้งหรือละเลยได้ ดั่งเช่นที่ "ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์" ได้ยึดมั่นและให้ความสำคัญตลอดมาท่ามกลางความผันผวนทางการเมืองไทย นับตั้งแต่วันนั้นจนกระทั่งปัจจุบัน "สันติประชาธรรม" ของศ.ดร.ป๋วย ยังคงเป็นแนวทางที่ส่งต่อไปยังอนุชนรุ่นหลังให้ตระหนักถึงปลายทางอันถาวรของเสรีภาพที่มีจุดกำเนิดตั้งต้นด้วยสันติวิธี
บทบาท-ผลงาน
17
มีนาคม
2565
ณ ขณะที่ผู้เขียนได้เขียนบทความชิ้นนี้ อยู่ในช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่รัฐบาลอเมริกันกำลังจะจัดตั้งรัฐบาลในอิรัก จะเห็นได้ว่า แนวคิดเรื่อง "สันติภาพ สันติธรรม มนุษยธรรม" ยังคงนำมาใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย แม้กระทั่งเหตุการณ์ความรุนแรงที่กำลังเกิดขึ้นก็ตาม
บทบาท-ผลงาน
15
มีนาคม
2565
ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์พระเจ้าช้างเผือก ได้สรรค์สร้าง "พระเจ้าจักรา" ให้เป็นผู้ปกครองเมืองด้วยหลักสันติธรรม ถึงแม้นว่าจะอยู่ในสภาวะแห่งสงคราม พระมหากษัตริย์อย่างพระเจ้าจักราก็ทรงเลือกใช้หลักแห่งสันติภาพเข้ามาจัดการให้ภัยสงครามผ่านพ้น
บทบาท-ผลงาน
14
มีนาคม
2565
เนื้อหากล่าวถึงแนวคิดสันติวิธีและสันติภาพที่นายปรีดี พนมยงค์ ผู้ประพันธ์ ได้สอดแทรกไว้ใน "พระเจ้าช้างเผือก" ไม่ว่าจะเป็นตัวบทภาพยนตร์ก็ดี หรือ ตัวละครก็ดี ผ่านการตีความในบริบทต่างๆ อาทิ สันติภาพ : ไม่ใช่การยอมจำนน, สันติวิธี : มุมมองจากศาสนาพุทธ และ สันติภาพเชิงโครงสร้าง : หนทางสู่สันติภาพในสังคม เป็นต้น
Subscribe to สันติวิธี