ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงวิจิตรวาทการ

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
กันยายน
2567
ดร.เดือน บุนนาค บันทึก จุดเริ่มต้นเหตุการณ์ที่ นายปรีดี พนมยงค์ และดร.เดือน บุนนาค รู้จักกัน ความพิเศษของบทความผนวกหลักฐานชั้นต้น ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์และเหตุการณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
สิงหาคม
2567
เหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังประเทศญี่ปุ่นบุกประเทศไทย การประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา ทำให้รัฐบาลไทยกลายเป็นประเทศพันธมิตรของประเทศญี่ปุ่นและฝ่ายอักษะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
สิงหาคม
2567
ภายหลังสงครามอินโดจีน-ฝรั่งเศส สิ้นสุดลงทางรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับความนิยมและมีผู้สนับสนุนเป็นคนสนิท หากนายปรีดี พนมยงค์ ชี้ว่า รัฐบาลของจอมพล ป. ออกห่างจากแนวทางสันติวิธี
บทบาท-ผลงาน
6
สิงหาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอว่าในบริบทสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเเผด็จการฟาสซิสต์เรืองอำนาจในประเทศฝ่ายอักษะ พบว่าในไทยนั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เดิมยึดหลัก 6 ประการและสันติภาพได้มีนายประยูร ภมรมนตรี และหลวงวิจิตรวาทการ หนุนเสริมให้จอมพล ป. เอาอย่างฮิตเลอร์
บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2567
การแข่งขันโต้วาทีครั้งแรกของสยามในวันที่ 18 สิงหาคม 2478 ด้วยญัตติ “ร้อนดีกว่าเย็น” มีพระยาโอวาทวรกิจ เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนอ และมีรองอำมาตย์โทวิเชียร ฉายจรรยา เป็นหัวหน้าฝ่ายค้าน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการคือ พระสารสาสน์ประพันธ์สนับสนุนให้จัดการแข่งขันโต้วาทีชิงรางวัลขึ้น
ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบ 112 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เชิญชวนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่องราวชีวิตส่วนตัว ครอบครัว การใช้ชีวิตคู่หลังสมรสกับท่านปรีดี พนมยงค์ การทำงานของท่านอาจารย์ปรีดี
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2566
ย้อนกลับไปวันนี้เมื่อ 109 ปีที่แล้ว วันที่ 30 มิถุนายน ในปี ค.ศ. 1914 ‘โมฮันดาส กรามจันทร์ คานธี’ หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อว่า ‘มหาตมะ คานธี’ ได้ถูกจับกุมคุมขังครั้งแรกหลังจากพยายามรณรงค์ต่อสู้เรียกร้องสิทธิของชาวอินเดียในแอฟริกาใต้
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2566
89 ปี สถาปนามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ย้อนอ่านประวัติศาสตร์ผ่านรายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎรกว่าจะมาเป็นสถานศึกษาเพื่อราษฎรแห่งแรกของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
Subscribe to หลวงวิจิตรวาทการ