ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงวิจิตรวาทการ

บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2565
-๑- ภายหลังที่รัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกาดั่งกล่าวแล้ว รัฐบาลก็ดำเนินต่อไปอีกในการผูกมัดประเทศไทยเข้ากับญี่ปุ่นและอักษะมากขึ้น
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2565
10 ปี ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้นเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 และรัฐบาลไทยได้ประกาศสงครามกับสหรัฐฯ และบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็นจุดที่รัฐบาลไทยหันเข้าหาญี่ปุ่นเต็มตัว และต่อต้านสัมพันธมิตร เข้าสู่สงครามเป็นทางการ [1] คำถามสำคัญคือ ทำไมวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 จึงเป็นโมฆสงครามตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ ในบทความนี้จะค่อยๆ คลี่ให้เห็นคำตอบต่อไป  
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มกราคม
2565
ปลายเดือนธันวาคม ค.ศ.1949 (2492) หลังจากรอนแรมเดินทางบุกป่าฝ่าดงขึ้นเขาลงห้วยผ่านดินแดนลาวตัดเข้าสู่เวียดนาม เจ้าสุพานุวง ก็ได้มาถึงฐานที่มั่นจังหวัดเง่ห์อาน ในเวียดนาม ณ ที่นั่น ท่านได้พบกับ สหายหนูฮัก พูมสะหวัน ประธานคณะกรรมการลาวต่อต้านเขตภาคตะวันออกและภาคกลาง
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ” “ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2564
คำให้การของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา ประธานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
ตุลาคม
2564
เมื่อฝรั่งเศสยึดครองลาวเป็นเมืองขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็ได้ พยายามผนวกดินแดนทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงอันเป็นมณฑลอีสานของสยามมีการยุยงสร้างความขัดแย้งระหว่างลาว-ไทย
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มิได้ลงนามประกาศสงครามกับ ‘บริเตนใหญ่’ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกลายมาเป็นเหตุหนึ่งในการประกาศความเป็นโมฆะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2564
วันที่ 21 ธันวาคม 2484 (หลังการบุกของญี่ปุ่นเพียง 13 วัน) จอมพล ป. ได้ลงนามในกติกาสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น และในวันที่ 25 มกราคม 2485 ในเวลาเพียงเดือนครึ่งถัดมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐฯ
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
บทบาท-ผลงาน
5
พฤศจิกายน
2563
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงที่มาของปัญหาไว้ 3 ประการ คือ (1) ปัญหาจากระบอบอํานาจนิยม (2) ปัญหาทางเศรษฐกิจ และ (3) กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
Subscribe to หลวงวิจิตรวาทการ