ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลัก 6 ประการ

แนวคิด-ปรัชญา
15
มีนาคม
2566
สำรวจความคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อภูมิทัศน์ทางการเมืองและระบอบประชาธิปไตย อันเป็นทรรศนะที่พิสูจน์แล้วว่าไม่เคยเก่าไปจากสังคมไทย หากเป็นแนวทางที่ยังคงร่วมสมัยควบคู่ไปกับทุกๆ ย่างก้าวของพลวัตที่เคลื่อนไปข้างหน้า เพื่อทบทวนบทเรียนแก่การเมืองในระยะเปลี่ยนผ่านที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2565
พัฒนาการของการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในทางเศรษฐกิจ ผ่านรัฐธรรมนูญฉบับต่างๆ ที่เริ่มต้นนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 อีกทั้งการเกิดขึ้นของบทบัญญัติแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐอันเป็นแนวทางคุ้มครองสิทธิและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ทว่า การรัฐประหารได้ทำให้หลักการดังกล่าวนั้นพร่าเลือนลงไป อันเนื่องมาจากความถดถอยของความเป็นประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2565
'ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ผู้ที่ศรัทธาในความยุติธรรม เชื่อมั่นในความเท่าเทียม เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และปรารถนาที่จะเห็นโลกแห่งประชาธิปไตยที่สมบูรณ์พร้อมด้วยสันติประชาธรรม ตลอดจนมรดกทางความคิดที่ป๋วยได้สร้างไว้ขณะมีชีวิต คือ อุดมการณ์ที่ส่งต่อเพื่อจุดประกายให้แก่คนรุ่นหลังตลอดมา
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2565
นับแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้เกิดกระแสความตื่นตัวของหลากหลายกลุ่มคนที่แสดงความนิยมยินดีและส่งเสริมสนับสนุนต่อระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นเทิดทูนรัฐธรรมนูญ รวมถึงศรัทธาในหลักการของ คณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2565
โอวาทของผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.” พุทธทาสภิกขุ
Subscribe to หลัก 6 ประการ