ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร

บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2565
เป็นที่ทราบกันดีว่า ในปี ๒๖๕๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกลางปีนั้น เป็นช่วงเวลาที่สำคัญอย่างยิ่งยวดต่อบันทึกประวัติศาสตร์ทางจิตวิญญาณและสังคมการเมืองของสยามประเทศ ด้วยเหตุเป็นช่วงครบรอบวาระ ๙๐ ปีแห่งเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่ง ๒ เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใกล้เคียงกัน
บทบาท-ผลงาน
26
พฤษภาคม
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนนำเสนอในเรื่องของ "การประเมินบทบาทที่ปรึกษาต่างชาติ" ว่าเป็นอย่างไร ส่งผลแค่ไหนต่อความสำเร็จในการเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของรัฐบาลภายใต้ระบอบเดิม ซึ่งจากงานศึกษาของนักวิชาการที่ผู้เขียนหยิบยกมาพิจารณานั้นได้เสนอไว้ว่า "ที่ปรึกษาชาวต่างชาติหลายคนมิได้แสดงให้เห็นความสามารถเท่าที่ควร"
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2565
ความคิดเรื่องกรรมกรของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ และนโยบายต่อกรรมกรของคณะราษฎร ไม่ค่อยมีการกล่าวถึงกันมากนัก เช่นน้อยคนที่จะทราบว่า ปรีดีเป็นผู้สนับสนุนให้มีวันกรรมกร ขึ้น ครั้งหนึ่งยังเคยมอบหมายให้ หม่อมเจ้าสกลวรรณกร วรวรรณ ไปแสดงสุนทรพจน์เนื่องในวันกรรมกร[1]
แนวคิด-ปรัชญา
28
มีนาคม
2565
"เอกราชในทัศนะของคณะราษฎร" นั้น มีความหมายกว้างกว่าการปักปันอาณาเขต หรือ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และในโลกทัศน์ของปรีดียังแสดงให้เห็นว่าผลประโยชน์จากเอกราชต้องเป็นประโยชน์ต่อราษฎรอันสอดรับกับงานเขียนสมัยนั้นที่มักจะสะกด "เอกราช" เป็น "เอกราษฎร์" อย่างมีนัยยะสำคัญ
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2564
การสิ้นสุดลงของ “ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์” ในสยามจึงเป็นไปเพื่อการก่อเกิดใหม่ของ “ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” หรือ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2564
นับจากการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของการเมืองการปกครองประเทศ ได้มีผู้แทนราษฎรชั่วคราวชุดแรกจำนวน 70 คน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก “คณะราษฎร” ทำการประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 โดยใช้ห้องโถงชั้นบนของพระที่นั่งอนันตสมาคมเป็นที่ประชุม
Subscribe to หลัก 6 ประการของคณะราษฎร