ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

อิทธิพล โคตะมี

แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
24
เมษายน
2566
เงื่อนไขที่เป็นไปได้ของการปฏิรูปกองทัพในส่วนของการเกณฑ์ทหาร คือ การระดมกำลังพลด้วยระบบอาสาสมัคร ผ่านการถอดบทเรียนจากประวัติศาสตร์การเมืองโลก ซึ่งนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกณฑ์ทหารที่สอดคล้องต่อยุคสมัย
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2565
นอกจากรัฐประหาร 2490 จะเป็นจุดเริ่มต้นบทบาททางการเมืองของกองทัพแล้วนั้น เหตุดังกล่าวยังได้รื้อฟื้นองคาพยพในระบอบเก่าให้หวนคืนสู่เวทีการเมืองอีกครั้ง ซึ่งแม้จะเคยถูกยกเลิกไปครั้นเมื่อเข้าสู่ระบอบใหม่ในสมัยคณะราษฎร แต่ทว่าภายหลังการรัฐประหารในครั้งนี้องค์กรดังกล่าวได้ถูกนำกลับมาผ่านรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2490 หรือ "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่มแดง" และอย่างเป็นทางการในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น  
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2565
'อิทธิพล โคตะมี' ชวนให้ศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ถึงสภาวะที่ยากแค้นของราษฎรในแผ่นดินสยาม กับกระบวนการสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่เหลื่อมล้ำจนส่งผลโดยตรงต่อความทุกข์ยากของราษฎร
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2565
  วันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (14 เมษายน 2560)  มีข่าวแพร่สะพัดว่า หมุด ‘ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ’ หรือเรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘หมุดคณะราษฎร’ ได้หายไปจากจุดที่มันเคยอยู่ (จากการติดตามของสำนักข่าวประชาไทระบุมีความเป็นไปได้ที่หมุดจะหายไปในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 3-7 เมษายน 2560) เป็นปริศนาจวบจนถึงวันนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2565
1 เมษายน 2476 วันขึ้นปีใหม่ไทย แต่ ณ ห้วงเวลานั้น ได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกภายใต้ระบอบประชาธิปไตย นำโดยนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย คือ 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาลตัวเอง ที่เรียกกันว่า "รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา"
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2564
การเมืองไทย ตกอยู่ใน ‘วงจรอุบาทว์’ การรัฐประหาร - การร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นประชาธิปไตย - การจัดการเลือกตั้ง - เกิดการทุจริตคอร์รัปชัน - เกิดวิกฤติทางการเมืองอีกครั้ง - และกลับมาจบที่การรัฐประหาร อีกครั้ง
บทบาท-ผลงาน
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ
Subscribe to อิทธิพล โคตะมี