อิทธิพล โคตะมี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
21
ตุลาคม
2564
ปรีดี พนมยงค์ สมาชิกคณะราษฎร เป็นผู้หนึ่งที่มองเห็นปัญหานี้ เขาใช้เวลาเพียง 1 ปี หลังการเปลี่ยนแปลง เริ่มต้นความพยายามแรกด้วยการเสนอให้มีการปฏิรูปที่ดิน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2564
“...หลังจากชัยชนะของขบวนการประเทศลาว ในลาวแล้ว เฉพาะปืน M16 อันเป็นอาวุธเบา ได้ทะลักมาอยู่ชายแดนไทยประมาณ 709,000 กระบอกปืน 709,000 กระบอกนี่แหละค่ะ ที่เขาลักลอบขนเข้ามาดำเนินการร้ายในประเทศไทย คือ สาเหตุที่เกลียด นปข. นัก (หมายถึง หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำแม่น้ำโขง) เพราะเขาจะขนอาวุธเหล่านี้เข้ามา อาวุธเหล่านี้ ในเวลานี้ได้สะสมไว้ที่เวียงป่าเป้าในเชียงใหม่ อีกส่วนหนึ่งนั้นได้สะสมไว้ที่สุราษฎร์ธานี
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2564
19 กันยายน 2564 ครบรอบ 15 ปี รัฐประหาร โดย คปค 19 กันยายน 2549
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2564
องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (Southeast Asian League) คือหนึ่งในไอเดีย ที่ปรากฏตัวขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีสาระสำคัญคือการรวมตัวของประเทศในกลุ่มประเทศเอเชียวันตะวันออกเฉียงใต้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2564
เหตุการณ์สังหาร ‘4 รัฐมนตรี’ ซึ่งทั้งหมดมีความใกล้ชิดกับปรีดี พนมยงค์ นับเป็นการฆาตกรรมทางการเมืองที่อื้อฉาวที่สุดครั้งหนึ่ง และเป็นครั้งแรกๆ ที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดของสังคมไทยในเวลาต่อมา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2564
'อิทธิพล โคตะมี' จะพาเราไปรู้จักกับหนังสือที่ชื่อว่า “โมฆสงคราม: บันทึกสัจจะประวัติศาสตร์ที่ยังไม่เคยเปิดเผยของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์” ซึ่งเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์จากบันทึกของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2564
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 การจัดการร่างกายที่ปราศจากลมหายใจด้วยวิธีการเผาในเมรุ ก็ถูกนำมาใช้กับราษฎรด้วยเหตุผลทางสุขอนามัยและการสร้างคุณค่าใหม่
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2564
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเพียง 3 วัน คณะราษฎรก็นำ “พระราชบัญญัติธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยาม” ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เพื่อให้พระองค์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to อิทธิพล โคตะมี
13
กรกฎาคม
2564
แม้ว่า “มรดกคณะราษฎร” หลายอย่างจะเปลี่ยนไป แต่สิ่งหนึ่งที่ยังคงอยู่นั่นคือ “แนวทางการแพทย์และการสาธารณสุขสมัยใหม่”