อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2566
คัดสรรงานชิ้นสำคัญเพื่อรำลึกถึงประวัติชีวิต ประสบการณ์ และฝีไม้ลายมือการประพันธ์ของคุณระวิ ฤกษ์จำนง ที่ทรงคุณค่าโดยเฉพาะต่อผู้ที่สนใจประวัติศาสตร์ไทยและร่วมรุ่นในโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2566
วิเคราะห์และวิพากษ์ให้เห็นถึงปัญหาของการจัดทำงบฯ สส. นี้ นับตั้งแต่แนวคิดที่ขัดกับหลักการงบประมาณแผ่นดินอย่างไร ผลเสีย ไปจนถึงเสนอแนวทางแก้ไขโดยมิจำเป็นต้องพึ่งพางบประมาณส่วนนี้ในการจัดสรรให้กับท้องถิ่น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
21
กรกฎาคม
2566
การวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในประเด็นสมาชิกภาพของสภาผู้แทนราษฎรของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์นี้ จะเป็นสิ่งที่พิสูจน์ให้สังคมได้ประจักษ์ว่า ศาลรัฐธรรมนูญแท้จริงแล้วคือองค์กรที่ถูกสร้างเพื่อพิทักษ์ประชาธิปไตยหรือแท้จริงแล้วเป็นเพียงองค์กรที่จะนำสังคมไปสู่ทางตัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' ในด้านกฎหมายงบประมาณและการคลัง โดยนำเสนอผ่านผลงาน ศ.ดร.อิสสระ ที่ได้สร้างไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ซึ่งสะท้อนการวิพากษ์วิจารณ์และการคานอำนาจของการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
ตุลาคม
2565
เรื่องราวเบื้องหลังการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' อันเป็นแนวทางที่ได้รับอิทธิพลจาก 'นายปรีดี พนมยงค์' ผู้เป็นลุง โดยยึดถือนายปรีดีเป็นต้นแบบในการปฏิบัติงานและดำเนินชีวิตส่วนตัว นับตั้งแต่เรื่องการศึกษา การสร้างครอบครัว ตลอดจนการทำงานเพื่อผลประโยชน์ของชาติ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550)
ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2565
สำหรับตอนที่ 2 นั้น ผู้เขียนได้นำเสนอถึงช่วงเวลาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ที่ได้มีการนำเสนอ "ร่างประมวลรัษฎากรฉบับแรกของสยามประเทศ" ในที่ประชุมสภานั้น 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' ได้มอบหมายให้ 'ดิเรก ชัยนาม' เป็นผู้อ่านหลักการและเหตุผลของร่างพระราชบัญญัติฯ แห่งประมวลรัษฎากร จำนวน 16 ข้อ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
เมษายน
2565
บทความชิ้นนี้มีหมุดหมายเพื่อนำเสนอพัฒนาการแนวคิดความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ และการปรับปรุงระบบภาษีอากรเพื่อราษฎรของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม[1] ก่อนการร่างพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพุทธศักราช 2481 ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์สำคัญได้แก่ นิติสาส์น ฉบับปฐมฤกษ์ บันทึกการประชุมคณะกรรมการราษฎร และเค้าโครงการเศรษฐกิจ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ
อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
ข่าวสาร
Subscribe to อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ
10
มกราคม
2565
ชีวิตอิสสระ เกร็ดประวัติศาสตร์ ผ่านชีวิตและงานของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ