เศรษฐกิจ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2567
การแก้ไขความยากจนให้แก่ราษฎรในแนวคิดของ ดร.ปรีดี พนมยงค์ที่ท่านได้มองว่าเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาประเทศ ตามหลักของคณะราษฎร โดยจะต้องบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
มิถุนายน
2567
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 9 รัฐบาลนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ได้แถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภา ซึ่งมีใจความสำคัญคือการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุม 12 ด้าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบและความหมายตามนาฏกรรมของรัฐในแต่ละยุค บางช่วงเน้นประชาชน บางช่วงใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง สะท้อนการเปลี่ยนแปลงบทบาทและความสำคัญของพระราชพิธีในสังคมไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
กุมภาพันธ์
2567
ข้อเสนอแนะการขุดคอคอดกระ เพื่อทำคลองเชื่อมระหว่างสองฝั่งทะเล จากแนวคิดการแนะนำของดร. ปรีดี พนมยงค์ ด้วยความหวังว่าโครงการนี้จะช่วยพัฒนาสภาพเศรษฐกิจของประเทศได้
บทความ • บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เศรษฐกิจ
21
ตุลาคม
2566
ดร.ตั้ว มองว่าวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจที่จะเป็นรากฐานสร้างความมั่นคงถาวรให้กับประเทศชาติ ไม่ว่าจะในด้านกสิกรรม พานิชยกรรม อุตสาหกรรม รวมไปถึงในด้านการขนส่งที่ล้วนจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและทำให้วิทยาศาสตร์กลายเป็นหัวใจสำคัญของรากฐานในการศึกษา