ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การอภิวัฒน์สยาม

แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
พฤศจิกายน
2565
Bangkok Theatre Festival 2022 ในธีม "Reimagine" ตลอดจนละครเวทีเรื่อง "๔ แผ่นดินs : The Last Ten Years" การแสดงจาก "กลุ่มละครอนัตตา" และกำกับโดย 'ตั้ว ประดิษฐ ประสาททอง' ตกผลึกความคิดในบริบทการเมือง 90 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม เพื่อล้อเลียนอมตะวรรณกรรม "สี่แผ่นดิน" ต้นฉบับโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤศจิกายน
2565
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นวันถึงแก่อสัญกรรมของ ทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของไทย บทบาททางการเมืองของทวีมีมากกว่าการเป็นนายกรัฐมนตรีเพียง 17 วันดังที่กล่าวถึงกันอย่างแพร่หลาย
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
แนวคิด-ปรัชญา
22
มิถุนายน
2565
‘ปรีดี พนมยงค์’ เป็นผู้เสนอให้เรียกการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ว่า “อภิวัฒน์” ซึ่งมาจากคำว่า “อภิ” หมายถึง ยิ่ง วิเศษ เหนือ กับคำว่า “วัฒน์” หมายถึง ความเจริญ ความงอกงาม
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2565
ในวาระ 90 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ยังมีเรื่องราวของคณะราษฎรในแง่มุมใหม่จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ทั้งการตื่นขึ้นทางความคิดของราษฎรสามัญ การผลิตซ้ำแนวคิดของคณะราษฎรในเยาวชนคนหนุ่มสาว หรือ เยาวรุ่นอย่างต่อเนื่อง
แนวคิด-ปรัชญา
29
เมษายน
2565
สาเหตุประการสำคัญของการอภิวัตน์สยาม คือ ความต้องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้กับราษฎร และปัญหาหนึ่งที่สำคัญมาก คือ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นปกครองกับราษฎรทั่วไป ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระองค์’ กับ ‘การแยกทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์’ ออกจากกันถือว่ารากฐานสำคัญของความเป็นรัฐสมัยใหม่ในเวลานั้น
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2564
เราต้องใช้กฎหมายต่างๆ มาปิดล้อมไม่ให้เขาขยับได้ สุดท้ายประชาชนจะเป็นผู้ตัดสินชะตากรรมของตัวเองได้ในที่สุด
Subscribe to การอภิวัฒน์สยาม