ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการเสรีไทย

บทบาท-ผลงาน
22
สิงหาคม
2564
‘ดร.วรวิทย์ กนิษฐะเสน’ อดีตเอกอัครราชทูต ผู้ที่ทำงานใกล้ชิดกับนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2564
‘ดร.ผุสดี ตามไท’ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ประสานงานเครือข่ายผู้หญิงกับรัฐธรรมนูญ และ ดำเนินกิจกรรมรณรงค์ด้านสิทธิมนุษยชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
สิงหาคม
2564
อดีตสมาชิกเสรีไทย เจ้าของนามนามปากกา 'เสนีย์ เสาวพงศ์' เล่าเรื่องราวเมื่อครั้งที่นายทหารอังกฤษจากหน่วย Force 136 เข้ามาใช้พื้นที่พำนักในมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองกับปฏิบัติการลับ "ขบวนการเสรีไทย"
บทบาท-ผลงาน
18
สิงหาคม
2564
นโยบายที่สำคัญที่ท่านปรีดี พนมยงค์ได้วางไว้ ก็คือเรื่องของนโยบายต่างประเทศที่จะต้องอยู่บนหลักของเอกราชและอธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
17
สิงหาคม
2564
ลอร์ด เมานท์แบทเตน กล่าวว่า ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสแห่งสยามได้เป็นที่รู้จักของโลกในนาม “หลวงประดิษฐ์” มากกว่า และพวกเราหลายคนแห่งกองบัญชาการทหารสูงสุดสัมพันธมิตรภาคเอเชียอาคเนย์รู้จักเขาตามชื่อรหัสว่า “รู้ธ”
บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯ ได้ประกาศว่า การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ ในวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทยและฝ่าฝืนขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง
16
สิงหาคม
2564
เช้าวันที่ 8 ธันวาคม 2484 ประเทศไทยก็ได้เผชิญกับเหตุการณ์ที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์แห่งยุครัตนโกสินทร์ ญี่ปุ่นได้ยื่นความจำนงของเดินทัพผ่านไทยไปโจมตีมลายูและพม่า ซึ่งในขณะนั้นเป็นอาณานิคมของอังกฤษ โดย จอมพล เคาน์ท เทราอุจิ แม่ทัพใหญ่ญี่ปุ่นได้ส่งกองทัพที่ 25 ภายใต้นายพลยามาชิติ ยกพลขึ้นบกตามชายฝั่งภาคใต้ของประเทศไทย และเคลื่อนกำลังผ่านไทยเข้าสู่มลายูและสิงคโปร์ ขณะที่กองทัพที่ 15 ภายใต้นายพลอิดะ เข้ายึดครองประเทศ ไทยและพม่า การบุกของกองทัพญี่ปุ่นได้รับการต่อต้านจากฝ่ายไทย อันประกอบด้วยทหาร ตำรวจและพลเรือน ตลอดจนยุวชนทหารอย่างเหนียวแน่นและดุเดือด ทุก ๆ จุดที่มีการปะทะกัน ก่อให้เกิ
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2564
แม้ไม่มีหลักฐานชิ้นใดที่จะชี้ชัดไปว่า ญี่ปุ่นรู้หรือไม่ว่ามีขบวนการเสรีไทยเกิดขึ้น และถ้ารู้ รู้เมื่อไหร่ และรู้อย่างไร โดยเฉพาะในช่วงปลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการต่อต้านญี่ปุ่น
บทบาท-ผลงาน
14
สิงหาคม
2564
วิญญูชนรุ่นปัจจุบันที่ตั้งอยู่ในอุเบกขาแสวงหาสัจจะ โดยปราศจากอคติสี่ประการคือ ฉันทา, โทสา, ภยา, โมหา ก็ย่อมเข้าใจได้จากรูปธรรมที่ประจักษ์ถึงท่าทีของฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2564
“ในประเทศนี้ยังมีใครอีกหลายคนที่เขาได้ทำหน้าที่เพื่อประเทศชาติเช่นกัน ถึงแม้จะไม่ได้รับการบันทึกชื่อเอาไว้ในประวัติศาสตร์”
Subscribe to ขบวนการเสรีไทย