ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ขบวนการเสรีไทย

แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2564
เฉพาะประเทศที่มีเอกราชอันแท้จริง และนโยบายต่างประเทศเป็นอิสระเท่านั้นจึงจะสามารถดำเนินนโยบายให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชาติและประชาชนได้
บทบาท-ผลงาน
9
สิงหาคม
2564
ระหว่างเดินทางจากตึกคณะรัฐมนตรีกลับบ้านเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ข้าพเจ้ามีความรู้สึกเช่นเดียวกับนายทวี บุณยเกตุและรัฐมนตรีที่ไม่เข้าข้างฝ่ายญี่ปุ่นว่า “กลับบ้านด้วยความรันทดใจเป็นอย่างยิ่ง ชนิดที่เกิดมาในชีวิตไม่เคยมีความรู้สึกเช่นนี้มาก่อนเลย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2564
พ.ศ. 2489 ได้มีการตั้งชื่อ “นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า” หรือ “นกเขียวลออ” โดยสถาบันสมิธโซเนียน แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนกชนิดนี้ถูกค้นพบโดย ‘เฮอร์เบิร์ต จี. เด็กแนน’
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
พฤษภาคม
2564
31 พฤษภาคม 2564 ครบรอบ 60 ปี การประหารชีวิตอดีตนักการเมืองสามัญชนคนสำคัญผู้หนึ่งคือ ‘ครอง จันดาวงศ์’
บทบาท-ผลงาน
21
พฤษภาคม
2564
10 ผลงานชิ้นสำคัญของท่านรัฐบุรุษอาวุโสนั้น คืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรบ้าง อ่านเรื่องราวทั้งหมดได้ในบทความนี้
บทสัมภาษณ์
3
พฤษภาคม
2564
ครั้งแรกกับท่านปรีดี และ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่ปารีสประเทศฝรั่งเศส พ.ศ. 2513 (1970) กับ ครั้งสุดท้ายในบางกอก สยามประเทศ (ไทย) พ.ศ. 2544 (2001)
บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2564
  ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ในเวลาประมาณช่วงบ่ายๆ ดิฉันนั่งอยู่ที่วัดป่าจิตตวิเวก ประเทศอังกฤษ เพราะเดินทางไปกราบท่านเจ้าคุณปัญญาฯ เนื่องจากท่านเดินทางมาที่อังกฤษและมาพักที่วัด ระหว่างนั้นมีโทรศัพท์มาจากเมืองปารีส พระท่านก็ลุกขึ้นไปรับสาย และเดินกลับมาบอกว่า ท่านผู้หญิงพูนศุขโทรมาโดยอยากจะขอเชิญท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ไปที่งานพิธีศพอาจารย์ปรีดี เพราะอาจารย์ปรีดีนั้น ได้เสียชีวิตแล้ว ดิฉันนั่งอยู่ด้วยตรงนั้น ท่านเจ้าคุณปัญญาฯ ได้ตอบตกลงว่าไป
แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
5
เมษายน
2564
ในวันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 ที่ผ่านมา หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ร่วมกับ สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดฉายมรดกภาพยนตร์เรื่อง “พระเจ้าช้างเผือก” เนื่องในวาระครบรอบ 80 ปี วันฉายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือกวันแรก เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2484    
23
มีนาคม
2564
“พระเจ้าช้างเผือก” นับเป็นภาพยนตร์ไทยขนาดยาวที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงหลงเหลืออยู่อย่างครบสมบูรณ์ ปัจจุบัน ฟิล์มภาพยนตร์และสิ่งเกี่ยวเนื่องต่าง ๆ ของ “พระเจ้าช้างเผือก” ได้รับการอนุรักษ์อยู่ที่หอภาพยนตร์ และได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นหนึ่งในมรดกภาพยนตร์ของชาติชุดแรก เมื่อ พ.ศ. 2554
Subscribe to ขบวนการเสรีไทย