ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

แนวคิด-ปรัชญา
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
15
มิถุนายน
2566
PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น.  ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์  
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
มิถุนายน
2566
ณ เวลาย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิถุนายน 2475 "คณะราษฎร" ก่อการอภิวัฒน์ให้บังเกิดขึ้นในสังคมไทยนำพาสยามหลุดพ้นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รุดหน้าไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พร้อมประกาศพันธกิจเพื่อบำบัดทุกข์ที่เกิดขึ้นจากมรดกเก่า พร้อมบำรุงสุขให้สังคมความเท่าเทียมเกิดขึ้นในสังคมสยาม
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2566
ทบทวนประวัติศาสตร์ความเคลื่อนไหวภาคประชาชน และการเรียกร้องเพื่อยุติการสืบทอดของอำนาจนอกระบบจากเหตุการณ์ "พฤษภาประชาธรรม" พร้อมทั้งทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ ที่แสดงไว้ต่อประเด็นการต่อต้านระบอบเผด็จการและระบอบอำนาจนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2566
การคัดง้างระหว่างอำนาจที่สำคัญต่อปัจจัยในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 2475 ได้แก่ อำนาจทางกองทัพ และอำนาจตามประเพณีซึ่งเป็นมรดกตกค้างจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
Subscribe to คณะราษฎร