ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

บทสัมภาษณ์
12
สิงหาคม
2566
คุณอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภาฯ ย้อนเล่าเรื่องราวเมื่อครั้งมีโอกาสได้เป็นหนึ่งในผู้ที่เดินทางไปรับอัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ ด้วยความศรัทธาในตัวท่านปรีดีทั้งในด้านแนวคิด และอีกทั้งคุณอุทัยยังเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ท่านปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2566
การปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการปกครองแบบมัธยวิภาค (Decentralisation) ให้อำนาจการออกแบบและดูแลเป็นของท้องถิ่นนั้นๆ ในระบบเทศบาล โดยมีระบบสภาเทศบาลและคณะมนตรีดูแลกิจการต่าง ๆ เหมือนรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2566
แนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของชนชั้นนำสยามและราษฎรตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จากการเผยแพร่ของ The Bangkok Recorder ได้สร้างคุณูปการต่อการศึกษารัฐธรรมนูญของชนรุ่นหลังและเป็นส่วนหนึ่งที่นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัตน์ 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2566
ภายใต้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศในแต่ละยุคสมัย การพยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ได้อาศัยการขับเคลื่อนของคณะบุคคลเป็นระยะๆ โดยความพยายามในอดีตได้สร้างแรงบันดาลใจต่อการพยายามในสมัยต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2566
การจะไปสู่ชัยชนะจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาได้นั้น ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า เราจะตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยได้อย่างไร ทำอย่างไรไม่ให้พรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยแตกเป็นสองฝ่าย และไม่เกิดการสลับขั้วย้ายข้าง อันเป็นหายนะ และต้องตระหนักว่าปัญหาที่ยิ่งใหญ่ คือความไม่เป็นประชาธิปไตยยังเข้มแข็ง ซับซ้อน ต้องใช้เวลา และความพยายามจนกระทั่งเราฝ่าไปได้
Subscribe to คณะราษฎร