ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
6
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
บทบาท-ผลงาน
6
พฤษภาคม
2567
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ เป็นบิดาแห่งประชาธิปไตยไทย นักคิดและนักปฏิบัติมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ การรำลึกถึงท่านแสดงให้เห็นการยอมรับคุณงามความดีและคุณูปการอันยิ่งใหญ่
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศได้เจรจาเรียกร้องเอกราชและดินแดนคืนจากจักรวรรดินิยม เป็นรัฐมนตรีคลังปฏิรูปภาษีอากร จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และนายกฯ หลังรัฐประหารลี้ภัย เรียกร้องประชาธิปไตย เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและนักประชาธิปไตยสำคัญของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
5
พฤษภาคม
2567
ความสำคัญของการฝึกอบรมนิสัยพลเมือง ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของความเจริญรุ่งเรืองของประเทศ โดยเสนอให้ประเทศไทยจัดทำแผนฝึกอบรมนิสัยที่พึงประสงค์อย่างเป็นระบบและจริงจัง แม้จะต้องใช้เวลา
บทบาท-ผลงาน
3
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นนักกฎหมายและนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ศึกษาที่ฝรั่งเศสและริเริ่ม “สามัคยานุเคราะห์สมาคม” ก่อนจะเป็นผู้นำคนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศไทยสู่ระบอบประชาธิปไตย
ชีวิต-ครอบครัว
2
พฤษภาคม
2567
2 พฤษภาคม 2567 ครบรอบ 41 ปี อสัญกรรม ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ผู้อภิวัฒน์สยามและรัฐบุรุษอาวุโส
บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ วิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 ว่ายังไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย เสนอให้ประชาชนเลือกวุฒิสภา รัฐสภาควบคุมการส่งกำลังทหารเข้า-ออกประเทศ พร้อมเสนอแนวคิดให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง
บทบาท-ผลงาน
29
เมษายน
2567
ปรีดีนำเสนอแนวคิดเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิ Solidarism โดยให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการวางแผนและกระจายทรัพยากรอย่างเท่าเทียมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจในสังคมไทย
Subscribe to บทความ