ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

แนวคิด-ปรัชญา

แนวคิดและปรัชญาทางการเมืองของปรีดี

แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การใช้เหตุผลบิดเบือนเพื่อสร้างสงคราม และยกย่องการเคลื่อนไหวของประชาชนทั่วโลกที่เรียกร้องสันติภาพอย่างมีศักดิ์ศรี โดยเขาย้ำว่าการรักสันติภาพไม่ใช่ความผิด แม้จะถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ก็ตาม
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2568
เมื่อวาทกรรม “ราชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ” ถูกใช้เพื่อลดทอนความชอบธรรมของคณะราษฎร บทความนี้จึงชวนทบทวนว่า ประชาธิปไตยไทยบิดเบี้ยวเพราะอภิวัฒน์ หรือเพราะการบิดเบือนประวัติศาสตร์กันแน่
แนวคิด-ปรัชญา
22
พฤษภาคม
2568
ข้อเสนอ 3 ประการ ขององค์อิสระในระบอบประชาธิปไตย ที่ต้องยึดโยงกับประชาชน ประกอบด้วย ความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการสรรหา การสื่อสารและแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง และ การสร้างวัฒนธรรมความรับผิด เพื่อให้องค์กรอิสระเป็นองค์กรที่อยู่ข้างประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2568
ภายหลังการเข้ามาของกองทัพญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้ประเทศไทยต้องเข้าเป็นสัมพันธมิตรและเข้าเป็นพันธมิตรทางการทูต
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2568
รวมคำถาม ข้อเสนอ และมุมมอง เพื่อถอดบทเรียน ปัญหาสันติภาพและนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2568
อังคณา นีละไพจิตร เน้นว่าการสร้างสันติภาพต้องเริ่มจากการรับฟังเสียงของผู้ถูกกระทำ และยอมรับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ โดยเสนอให้แก้รัฐธรรมนูญและยุติวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เรียกร้องให้ประชาชนมีสิทธิ์ตัดสินเรื่องสงครามผ่านประชามติ เพื่อป้องกันการผูกขาดอำนาจของชนชั้นนำ โดยขอให้ประชาชนไทยร่วมลงนามสนับสนุนสันติภาพ เป็นการแสดงออกถึงเจตจำนงอันทรงเกียรติในการต่อต้านสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2568
สุธรรม แสงประทุม อภิปรายถึงปัญหาความรุนแรงตลอดหลายทศวรรษของประเทศไทยตั้งและ แม้ว่านายปรีดี พนมยงค์จะเคยพยายามแก้ไขปัญหาสันติภาพในจังหวัดชายแดนใต้ แต่มีหลายปัจจัยที่ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2568
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2568
ความรุนแรงมีทั้งทางตรง เชิงโครงสร้าง และเชิงวัฒนธรรม ซึ่งต้องถูกขจัดทั้งหมดจึงจะสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนได้ และท่ามกลางโลกที่ระเบียบที่กำลังล่มสลาย อ.ดร.ฟูอาดี้ชวนคิดถึงสันติภาพผ่าน “สงครามที่ชอบธรรม” ผ่านภาพยนตร์ “พระเจ้าช้างเผือก”
Subscribe to แนวคิด-ปรัชญา