ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤษภาคม
2568
นายปรีดี พนมยงค์ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 และแถลงนโยบายต่อสภา นายปรีดีมุ่งฟื้นฟูประเทศจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมซึ่งบอบช้ำมาจากสงครามโลกครั้งที่ 2 คำแถลงนี้สะท้อนวิสัยทัศน์ผู้นำและการวางรากฐานประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2568
แม้นายปรีดี พนมยงค์ จะลี้ภัยไปต่างประเทศอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ทางการเมือง หลวงบรรณกรโกวิท (เปา จักกะพาก) ผู้ใกล้ชิดนายปรีดีมายาวนานก็ยังเป็นมิตรแท้ที่สำคัญต่อครอบครัวปรีดีพูนศุขตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
พฤษภาคม
2568
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ช่วยให้พระประศาสน์พิทยายุทธ พ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองด้วยการผลักดันให้ดำรงตำแหน่งอัครราชทูตไทยประจำกรุงเบอร์ลินและช่วยเหลือบุตรชาย ในยามลำบาก
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
พฤษภาคม
2568
ปัญหาการจำกัดสิทธิเสรีภาพสื่อที่เกิดในทุกยุคสมัย โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศไม่เป็นประชาธิปไตยที่นำไปสู่การถูกจำกัดเสรีภาพจากกฎหมายและคำสั่งรัฐ และปัญหาการซับซ้อนของกฎหมาย และอำนาจของพนักงานการพิมพ์ที่ต้องตีความเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2568
รัฐบาลไทยประกาศนโยบายรักษาความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด พร้อมยืนยันเอกราชของชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพยายามรักษาความสัมพันธ์แบบเป็นมิตรทั้งกับญี่ปุ่นและอังกฤษ ในสถานการณ์สงครามที่ตึงเครียดยิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤษภาคม
2568
หลวงสุขุมนัยประดิษฐคือหนึ่งในผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย ในฐานะอดีตนักเรียนสหรัฐฯ การปฏิบัติภารกิจทั้งในสงครามและการทูตของท่านมีส่วนช่วยให้ไทยรอดพ้นจากการถูกปฏิบัติในฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
ชีวิตของอองซานซูจี วีรสตรีผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในฐานะนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย แต่ในบั้นปลายชีวิตกลับต้องถูกจองจำอีกครั้งท่ามกลางคำครหาและความโดดเดี่ยว สถานการณ์ของเธอว่าเปรียบเหมือน "Déjà Vu" แห่งโศกนาฏกรรมทางเมืองที่ไม่จบสิ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
สถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตึงเครียดมากขึ้น ในขณะเดียวกันรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมีความต้องการที่จะเรียกร้องดินแดนที่ไทยเคยสูญเสียให้แก่ฝรั่งเศสกลับคืนมาโดยเฉพาะฝั่งขวาของแม่น้ำโขง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
เมษายน
2568
ศ. ดร. กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงยุทธศาสตร์ “วิเทโศบายของไทย” ในช่วงวิกฤตการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ต้องการรักษาสันติภาพและความเป็นกลาง ตลอดจนการรักษาอธิปไตยของประเทศ ไม่ให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจนกระทบต่อเอกราช
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์