ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐประหาร 2490

เกร็ดประวัติศาสตร์
17
ธันวาคม
2567
บันทึกหลักฐานประวัติศาสตร์ช่วงหนึ่งของบทบาทม.จ. ศุภสวัสดิ์วงสนิท สวัสดิวัตน ในฐานะสมาชิกขบวนการเสรีไทย จาก ม.ร.ว. สายสวัสดี สวัสดิวัตน ทอมสัน (Thomson) พระธิดา
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2567
การออกแบบรัฐธรรมนูญที่ร่างขึ้นภายหลังการรัฐประหารโดยกองทัพตั้งแต่ พ.ศ. 2490-2557 มีเป้าหมายเพื่อสร้างระเบียบการเมืองใหม่และจำกัดอำนาจประชาชนรวมถึงให้อำนาจแก่คณะรัฐประการ เครือข่าย และกองทัพ
บทบาท-ผลงาน
30
พฤศจิกายน
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
ทัศนะต่อการรัฐประหาร 2490 และการลี้ภัยครั้งแรกไปยังสิงคโปร์และจีนของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนายปรีดีได้อธิบายการลี้ภัยไว้อย่างละเอียด ต่อมานายปรีดีได้เขียนถึงรัฐธรรมนูญฉะบับชั่วคราว 2490 ที่สะท้อนแนวคิดของฝ่ายอนุรักษนิยม
บทบาท-ผลงาน
4
ตุลาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ เสนอข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการช่วยเหลือทหารที่ปลดประจำการ ในรัฐบาลนายปรีดี พนมยงค์กับ การนำเสนอร่างพระราชบัญญัติอนุญาตให้รัฐบาลจ่ายเงินไปพลางก่อน พุทธศักราช 2489 ต่อสภาผู้แทนราษฎร
วันนี้ในอดีต
1
ตุลาคม
2567
รำลึกถึงชีวิตของพลเรือตรีทหาร ขำหิรัญ นายทหารเรือประชาธิปไตย ผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองในหลายเหตุการณ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ให้สัมภาษณ์ผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2523 เรื่องความคิดต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะการอภิวัฒน์ 2475 รัฐธรรมนูญ และการรัฐประหารหลัง 2490
บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2567
ความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และโฮจิมินห์ ในการสนับสนุนการกอบกู้เอกราชของประเทศเวียดนาม จนนำไปสู่การประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488
บทบาท-ผลงาน
16
มิถุนายน
2567
คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงทั้งระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญโดยมีธรรมนูญการปกครองฉบับแรกที่ประกาศใช้ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 เป็นปฐมรัฐธรรมนูญที่แสดงถึงหลักการสำคัญของคณะราษฎร ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงทางด้านกฎหมายสำคัญของคณะราษฎรจึงตั้งต้นมาจากธรรมนูญการปกครองฉบับนี้
บทสัมภาษณ์
16
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องราวของอาจารย์ปรีดีในปารีส หลังลี้ภัยจากรัฐประหาร พร้อมภาพบ้านอองโตนีที่อาจารย์ท่านใช้ชีวิตปลายทาง ฟังเรื่องราวจากสองบุตรี ของรัฐบุรุษอาวุโส สุดา-ดุษฎี พนมยงค์
Subscribe to รัฐประหาร 2490