ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กบฏบวรเดช

เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
เมษายน
2566
ความเพลี่ยงพล้ำของฝรั่งเศสใน WWII เปิดลู่ทางให้รัฐบาลจอมพล ป. เรียกร้องต่อกรณี ร.ศ. 112 เมื่อสงครามจบลงชาวเวียดนามอพยพหนีการกว้างล้างของฝรั่งเศสเข้ามายังไทย รัฐบาลประชาธิปไตยภายใต้การนำของนายปรีดี พนมยงค์ จึงดำเนินนโยบายสนับสนุนขบวนกู้เอกราช แต่ก็ต้องหยุดชะงักลงด้วยการรัฐประหาร 2490
บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
Subscribe to กบฏบวรเดช