กล้า สมุทวณิช
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
31
กรกฎาคม
2566
ความขัดแย้งอย่างเป็นปัญหาหนักหน่วงในสังคมและจุดยืนแบบต่างโลก ระหว่างผู้ที่ศรัทธาอดีตกับผู้ที่ศรัทธาสิ่งที่มาใหม่ในปัจจุบันและในอนาคต เกิดขึ้นได้เพราะความรู้เพื่อสังคมส่วนรวมที่สามารถสร้างสรรค์ขึ้นได้โดยทุกผู้คนในสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่
ข่าวสาร
26
มิถุนายน
2566
ในวาระ 91 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดเสวนา PRIDI Talks #21: “เราจะรักษาชัยชนะก้าวแรกของประชาชน (และก้าวต่อๆ ไป) ไว้ได้อย่างไร?” วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 14.00 - 17.00 น. ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักการเมือง นักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวภาคประชาชน ร่วมเป็นผู้เสวนาในครั้งนี้ อาทิ พล.ท.
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
29
พฤษภาคม
2566
ค้นหาคำตอบจากหลักวิชาการทางกฎหมายมหาชนและรัฐธรรมนูญ โดยย้อนกลับไปสู่นิยามของ "นายกรัฐมนตรี" และ "ประธานาธิบดี" ตำแหน่งทางการเมืองที่ยึดโยงอย่างมีนัยสำคัญต่อรูปแบบการปกครองและอำนาจอธิปไตยของรัฐ พร้อมทั้งพิจารณาเหตุและผลของที่มาในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี อันสัมพันธ์ต่อกลไกของระบบตัวแทนจากประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
เมื่อ “ศาลรัฐธรรมนูญ” ชี้ “ค่าไฟทำไมแพง” : การฟ้องคดีเกี่ยวกับหน้าที่ของรัฐตามรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก
25
เมษายน
2566
กรณีศึกษาการฟ้องร้องกรณี "ค่าไฟแพง" ผ่านกระบวนการต่อสู้คดี เพื่อค้นหาคำตอบต่อประเด็นค่าไฟฟ้าที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากปัจจัยในการประกอบกิจการบริหารงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนซึ่งมีส่วนร่วมกันอย่างไม่อาจแยกออกจากกันได้ อันนำไปสู่การต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายที่มากขึ้นของประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to กล้า สมุทวณิช
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562