การศึกษา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
สิงหาคม
2567
คำว่า “เล่นการเมือง” ในมุมมองของสังคมไทยมักถูกนำมาใช้งานในความหมายที่กว้างขวาง จนทำให้ก่อเกิดการตีความที่ผิดเพี้ยนไปมากมายต่อผู้ที่ไม่ได้มีบทบาทเป็นนักการเมืองโดยตรง เพียงแค่เขาเหล่านั้นสนใจความเป็นไปของการเมือง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
มิถุนายน
2567
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ปรับปรุงพิกัดอัตราศุลกากร โดยลดหรือยกเว้นภาษีสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา เพิ่มภาษีสินค้านำเข้า ปรับวิธีเก็บภาษีข้าวจากเก็บตามสภาพเป็นเก็บตามราคา เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนราษฎร โดยเฉพาะชาวนา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
มิถุนายน
2567
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 9 รัฐบาลนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ได้แถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภา ซึ่งมีใจความสำคัญคือการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุม 12 ด้าน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
เมษายน
2567
ปรีดีนำเสนอแนวคิดเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิ Solidarism โดยให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการวางแผนและกระจายทรัพยากรอย่างเท่าเทียมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจในสังคมไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture ในวันนี้ขอเสนอถึงการกระทำของฝ่ายปกครองอีกประการหนึ่งนอกเหนือไปจากการรักษาความสงบเรียบร้อยทั้งในทางตรงและทางอ้อม คือ การส่งเสริมให้ราษฎรมีความสุขสมบูรณ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2566
หัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือประชาชน การให้การศึกษาเรื่องประชาธิปไตยแก่ประชาชนจึงเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกัน การพัฒนาประชาธิปไตยก็มีหลักสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2566
ความสำเร็จของการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา อาจมิใช่แค่เพียงชัยชนะของฝ่ายประชาธิปไตยและการต่อสู้ทางอุดมการณ์ หากจะต้องวิเคราะห์ไปให้ไกลถึง "นโยบาย" ที่พรรคการเมืองได้ประกาศพันธะสัญญา อาจวิเคราะห์ได้ว่าคนในสังคมไทยเห็นพ้องร่วมกันว่าต้องขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นได้ในสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to การศึกษา
29
สิงหาคม
2565
“ความเหลื่อมล้ำ” เป็นปัญหาสำคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาอื่นๆ ในสังคมไทย และหนึ่งในปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย คือ ปัญหาการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ซึ่งมีความสำคัญในฐานะเครื่องมือในการขยับสถานะทางสังคม