ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเลือกตั้ง

บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
แนวคิด-ปรัชญา
15
พฤษภาคม
2567
'รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ' กล่าวเปิดเสวนาด้วยการวิพากษ์วิจารณ์ที่มาและอำนาจวุฒิสมาชิกในรัฐธรรมนูญ 2560 ว่ามีเจตนาสืบทอดอำนาจแนวอภิชนาธิปไตย ระบบซับซ้อนผิดกฎหมาย วุฒิสภามีอำนาจเกินไป เสนอให้ใช้ระบบสภาเดียวจากเลือกตั้ง และผลักดันรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
31
มีนาคม
2567
วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2567
สำหรับระบอบการปกครองประเทศที่มีอำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนพลเมืองทุกคนนั่นคือ “ประชาธิปไตย” ผ่านหลักการแยกอำนาจการปกครองในการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน และความเป็นประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำคัญที่พลเมืองของประเทศควรปกป้องไว้
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2566
งานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เรื่อง “เสรีนิยมธรรมราชา: พลวัตแห่งอำนาจระหว่างสถาบันกษัตริย์กับสถาบันแนวประชาธิปไตยในโครงการจำกัดเสียงข้างมาก (พ.ศ. 2540-2560)” โดย อ.ปฤณ เทพนรินทร์ กล่าวถึงลักษณะสำคัญใหม่ของฟากฝั่งอนุรักษนิยมไทยที่ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างมีพลวัต
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2566
วาทกรรม "เล่นการเมือง" มักถูกใช้เป็นคำกล่าวถึงผู้ที่สนใจความเป็นไปของบ้านเมือง นัยของวาทกรรมดังกล่าวสะท้อนถึงการจัดตำแหน่งแห่งที่และแบ่งแยกการเมืองให้ห่างไกลออกจากประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
13
มิถุนายน
2566
นโยบายเพื่อประชาชนอาจต้องคำนึงถึงความชะงักงัน หากในกรณีมีการร้องเรียนต่อศาลรัฐธรรมนูญ และศาลอาจออกคำวินิจฉัยที่เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินนโยบาย ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงกรณีศึกษาบางเรื่องผ่านคำวินิจฉัยในอดีตที่ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียน เตรียมรับมือ และป้องกันช่องว่างทางกฎหมายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2566
องค์กรตุลาการอย่าง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ถูกหยิบยกเข้ามาร่วมในสมการทางการเมือง เนื่องจากตลอดระยะเวลานับตั้งแต่การรัฐประหารและความชะงักงันในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา เป็นเวลากว่า 17 ปี ที่สังคมไทยต้องเผชิญกับนิติสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
6
มิถุนายน
2566
ความสำเร็จของพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยภายหลังการเลือกตั้ง มีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความแข็งแรงและมั่นคงของการรวมตัวภาคประชาชนในรูปแบบสหภาพแรงงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและป้องกันไม่ให้ฝั่งอนุรักษนิยมชักนำให้ประเทศย้อนหลังกลับไปยังจุดเดิม
แนวคิด-ปรัชญา
2
มิถุนายน
2566
ข้อสังเกตบางประการต่อกระบวนการสร้างระบอบประชาธิปไตยและการลดหรือเพิ่มของระดับการคอร์รัปชันซึ่งเกี่ยวเนื่องอย่างมีนัย เพื่อตอบสมมติฐานที่ว่า “คอร์รัปชันน้อย ประชาธิปไตยจึงดี หรือ ประชาธิปไตยดี จึงมีคอร์รัปชันน้อย”
Subscribe to การเลือกตั้ง