ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเลือกตั้ง

แนวคิด-ปรัชญา
29
มีนาคม
2566
135 ปี ชาตกาล พระยาพหลพลพยุหเสนา กับคำปราศรัยที่ได้แสดงไว้ต่อปวงชน เมื่อคราวระบอบประชาธิปไตยปักหลักลงรากสู่แผ่นดินสยามได้ครบเป็นปีที่ 4 เรื่อง "การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
มีนาคม
2566
"สติระลึกชอบในปัฏฐาน สมาธิเจริญญาณทั้งสี่วาง มีพานรัฐธรรมนูญอยู่กลาง เอกลักษณ์วางตั้ง ต.ม.ธ.ก."
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2565
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475" ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2565
คำบรรยายของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อปลัดจังหวัดและนายอำเภอจำนวนทั้งสิ้น 94 คน คณะผู้จัดการอบรม และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจร่วมเข้าฟัง โดยนายปรีดีได้เน้นย้ำความสำคัญของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญจะสำเร็จได้นั้น ล้วนต้องอาศัยความร่วมมือจากเหล่าข้าราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชน
บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2565
ปรากฏการณ์ที่บอกความนิยมถึง 1,386,215 เสียง ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 17 คือ ความเผ็ดร้อนที่ไม่ธรรมดาของสถานการณ์แข่งขันที่เข้มข้น เพราะมวลชนซึ่งตกอยู่ในความมืดมนถึง 8 ปี หลังรัฐประหาร 2557
Subscribe to การเลือกตั้ง