ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเลือกตั้ง

แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤษภาคม
2566
ความสำเร็จของการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา อาจมิใช่แค่เพียงชัยชนะของฝ่ายประชาธิปไตยและการต่อสู้ทางอุดมการณ์ หากจะต้องวิเคราะห์ไปให้ไกลถึง "นโยบาย" ที่พรรคการเมืองได้ประกาศพันธะสัญญา อาจวิเคราะห์ได้ว่าคนในสังคมไทยเห็นพ้องร่วมกันว่าต้องขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นได้ในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
21
พฤษภาคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็นดุลยภาพแห่งอำนาจ พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
20
พฤษภาคม
2566
ประมวลและตั้งข้อสังเกตถึงการดำเนินงานของ "สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง" (กกต.) ในฐานะองค์กรผู้ควบคุมและดำเนินจัดการเลือกตั้ง นับตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 26 เมื่อปี พ.ศ. 2562 จนกระทั่งถึงการเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤษภาคม
2566
อำนาจของเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารที่ประชาชนทุกคนสามารถนำอำนาจเหล่านี้ มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อตรวจสอบ ส่งเสียงเรียกร้องในสิทธิที่ประชาชนทุกคนพึงมี พร้อมทั้งวิพากษ์วิจารณ์การกระทำที่ไม่เหมาะสมของรัฐบาล เพื่อสร้างสังคมที่มีความเป็นประชาธิปไตย ความเที่ยงธรรม และมีดุลยภาพแห่งอำนาจมากยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2566
ความหวังและความฝันของคนหนุ่มสาวในการเปลี่ยนผ่านสังคมไปสู่ระบอบประชาธิปไตยที่แท้จริง ผ่านการเคลื่อนไหวและการต่อสู้ของภาคประชาชนนับตั้งแต่ปี 2563 เป็นต้นมา เพื่อตั้งคำถามต่อโครงสร้างทางการเมืองที่ไม่เป็นธรรม และสร้างพื้นที่สาธารณะให้แก่ผู้คนซึ่งมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันภายในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้
บทบาท-ผลงาน
14
พฤษภาคม
2566
ประมวลฐานความคิดของนายปรีดี พนมยงค์ ที่มีต่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร นับตั้งแต่วัยเยาว์ ไปจนถึงการอภิวัฒน์สยาม 2475 ก่อร่างสร้างประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อีกทั้งรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 ซึ่งกำหนดหลักการผู้เกี่ยวข้องทางการเมืองไว้อย่างเป็นธรรม รวมไปถึงวิธีส่งเสริมให้ราษฎรสนใจประชาธิปไตย ซึ่งปรากฏในจดหมายถึง ฯพณฯ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี
13
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพุธที่ 11 พฤษภาคม 2566 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมรณรงค์เชิญชวนประชาชนย่านทองหล่อออกไปใช้สิทธิตามหน้าที่ของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งครั้งที่ 27 ที่กำลังมาถึง ในวันอาทิตย์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 โดยนำ “คู่มือเลือกตั้ง 66 เรียนรู้จากอดีต กาเพื่ออนาคต” เอกสารประกอบการเลือกตั้งซึ่งจัดทำโดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw) ภายในเล่มประกอบไปด้วย ข้อควรรู้ก่อนเข้าคูหา, กติการะบบการเลือกตั้ง, ข้อมูลพรรคการเมือง, จุดยืนพรรคการเมือง และหนทางสู่ประชาธิปไตยหลังการเลือกตั้ง เพื่อเ
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤษภาคม
2566
“Electoral Justice: International IDEA Handbook” นำเสนอระบบความเที่ยงธรรมในการเลือกตั้งที่มีประสิทธิผล การยื่นและยุติการคัดค้านในการเลือกตั้งรวมทั้งการหยิบยกวิธีการต่างๆ ที่จะป้องกันข้อพิพาทและส่งเสริมสิทธิการเลือกตั้ง
12
พฤษภาคม
2566
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11 พฤษภาคม ที่ผ่านมาในวันปรีดี พนมยงค์ ประจำปี พ.ศ. 2566 สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดเสวนา PRIDI Talks #20: “ดุลยภาพแห่งอำนาจ” : เปลี่ยนผ่านสังคมไทยด้วยการเลือกตั้ง ขึ้น ณ ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 สถาบันไทยคดีศึกษา ห้องประชุมคึกฤทธิ์ ปราโมช มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการ สื่อมวลชน และองค์กรเคลื่อนไหวภาคประชาชน ได้แก่ รศ.ดร.ไชยันต์ รัชชกูล, รศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์, รศ.ดร.พิภพ อุดร, ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล และ ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ และ ผศ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ เป็นผู้ดำเนินรายการ
Subscribe to การเลือกตั้ง