ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

การเลือกตั้ง

บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2565
ปรากฏการณ์ที่บอกความนิยมถึง 1,386,215 เสียง ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 17 คือ ความเผ็ดร้อนที่ไม่ธรรมดาของสถานการณ์แข่งขันที่เข้มข้น เพราะมวลชนซึ่งตกอยู่ในความมืดมนถึง 8 ปี หลังรัฐประหาร 2557
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2564
19 กันยายน 2564 ครบรอบ 15 ปี รัฐประหาร โดย คปค 19 กันยายน 2549
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2564
ในวันเพ็ญเดือนหก (พฤษภาคม) พุทธศักราช 2500 ตามปีปฏิทินจันทรคติของไทยจะเวียนมาถึง “กึ่งพุทธกาล” หรือครึ่งหนึ่งของอายุพระพุทธศาสนา (5,000 ปี) ตามความเชื่อพื้นบ้าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
1
ตุลาคม
2563
ชวนหาคำตอบจากบทความของ วิเชียร เพ่งพิศ ที่สำรวจความคิดและทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องระบบรัฐสภาของไทย และการได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภา
บทบาท-ผลงาน
2
กรกฎาคม
2563
ความจําเป็นที่จะให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนในทางการเมืองเป็นเรื่องที่ตระหนักดี โดยผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกซึ่งประกาศใช้เมื่อปี 2475 บุคคลผู้นั้น ก็คือ อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส
แนวคิด-ปรัชญา
12
มิถุนายน
2563
เมื่อจะทำความเข้าใจขบวนการสิทธิสตรีในประเทศไทย อาจพบว่าชื่อของ ปรีดี พนมยงค์ ไม่เป็นที่คุ้นเคยสักเท่าไหร่ แต่ถ้าจะกล่าวถึงกำเนิดของสิทธิสตรีในการเลือกตั้งของสตรีไทยแล้ว คงไม่มีใครปฏิเสธว่า เริ่มต้นที่ร่างธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และร่างธรรมนูญฉบับนี้เองที่ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้รับผิดชอบในการร่าง
Subscribe to การเลือกตั้ง