ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กุหลาบ สายประดิษฐ์

แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การระบาดของโรคหวาดกลัวคอมมิวนิสต์ในอเมริกาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนำไปสู่การตรวจสอบประชาชนจำนวนมากอย่างไม่มีเหตุผลชัดเจน และนักการเมืองบางกลุ่มใช้กระแสนี้เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึงการตื่นกลัวคอมมิวนิสต์ในช่วงต้นสงครามเย็น อย่างการกล่าวหาเลขาธิการสหประชาชาติเป็นว่าคอมมิวนิสต์ กุหลาบชี้ให้ผู้คนตระหนักถึงภัยของสงคราม และเสนอแนวทางสันติภาพที่ไม่ตกเป็นเครื่องมือของฝ่ายใด
แนวคิด-ปรัชญา
19
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์รัฐบาลปี พ.ศ. 2493 ว่าดำเนินนโยบายสำคัญโดยไม่ฟังประชาชน เช่น การซื้อรถถัง ทำสัญญาทางทหาร และใช้กฎหมายพิเศษปิดกั้นเสรีภาพ เสนอให้รัฐบาลฟังเสียงประชาชนอย่างจริงใจ เพื่อยึดหลักการปกครองโดยผู้แทนราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอให้รัฐบาลรับฟังเสียงจากประชาชนที่วิพากษ์วิจารณ์นโยบายทางการทูต แต่เสียงของประชาชนที่รัฐบาลรับฟังกลับกลายเป็นโฆษณาชวนเชื่อ การสนับสนุนจากประชาชนจึงไม่เกิดขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2568
“นายบำเรอ“ นามปากกาอีกชื่อหนึ่งของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการรณรงค์ป้องกันอหิวาตกโรคของกรมสาธารณสุข โดยเสนอว่าควรใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคระบาดมากขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2568
ในวาระ 120 ปีแห่งชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือศรีบูรพา นักคิดนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ บทความนี้ได้นำเสนองานเขียนด้านพุทธศาสนาของศรีบูรพาคือ อุดมธรรม มีการจัดพิมพ์ในช่วงที่ผู้ประพันธ์ยังมีชีวิตอยู่เพียงเล่มเดียว
วันนี้ในอดีต
31
มีนาคม
2568
31 มีนาคม 2568 ในวาระ 120 ปี ชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ขอรำลึกประวัติ ชีวิตผ่านผลงานวรรณกรรมในนามปลายปากกา “ศรีบูรพา“ นับตั้งแต่วัยเยาว์ ความรัก การเมือง อุดมคติ และพุทธศาสนา จนถึงยุคต่อต้านเผด็จการทหาร 2490
วันนี้ในอดีต
26
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ นักคิดนักเขียนผู้เรียกร้องความเป็นธรรมในสังคม ผลงานหลายชิ้นเป็นอมตะและสอดรับกับอุดมคติเพื่อประชาชนจึงร่วมสมัยในทุกยุคโดยปี 2567 ผลงานของกุหลาบหมดอายุลิขสิทธิ์จึงนำมาตีพิมพ์ได้ในวงกว้างยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์บทเรียนของเวียดนามชวนให้รัฐบาลไทยตระหนักที่ประชาชนยอมรับโฮจิมินห์มากกว่าเบาได๋ที่ได้รับการยอมรับจากประเทศมหาอำนาจ และวิพากษ์วิจารณ์สหรัฐอเมริกาที่มีอิทธิพลในยุคสงครามเย็น
แนวคิด-ปรัชญา
16
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 โดยเสียดสีและยั่วล้อว่า ปัญหาการเมืองของรัฐบาลทั้งการโกง การคอรัปชั่นของผู้มีอำนาจ การค้าของเถื่อนเป็นการสร้าง ‘ทฤษฎีใหม่’ ในยุคนี้
Subscribe to กุหลาบ สายประดิษฐ์