ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กุหลาบ สายประดิษฐ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้อธิบายมูลเหตุและแรงจูงใจในการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 จากมุมมองของผู้ร่วมเหตุการณ์สำคัญในชุดบทความ "เบื้องหลังการปฏิวัติ" ซึ่งถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2566
รวบรวมถึงเรื่องราว เรื่องเล่า และบรรยากาศภายใน “บ้านศรีบูรพา” ผ่านบุคคลที่เคยร่วมงานกัน สะท้อนถึงความเป็นเสมือนลมใต้ปีกที่ทำให้บ้านศรีบูรพามีชีวิตชีวาของคุณวาณีสะใภ้แห่งบ้านศรีบูรพาในฐานะศูนย์กลางของเรื่องราวอันควรรำลึกถึง
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ตุลาคม
2566
เรื่องราวความเป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ของจำกัด พลางกูร นับตั้งแต่อิทธิพลที่ส่งผลต่อความเป็นนักเขียนนักหนังสือพิมพ์ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนสำคัญกับจำกัด ความคิดความสนใจต่อประเด็นทางสังคม ผลงานชิ้นสำคัญ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2566
ประวัติความเป็นมา บทสัมภาษณ์ และบทวิจารณ์ความเห็นที่มีต่อละครเพลง “WATERFALL A New Musical” รวมไปถึงบทส่งต่อถึงเยาวชนและผู้คนที่สนใจในโลกแห่งละครเวทีถึงวงการละครเวทีของไทยว่าจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้าง
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
16
มิถุนายน
2566
วาทกรรม "เล่นการเมือง" มักถูกใช้เป็นคำกล่าวถึงผู้ที่สนใจความเป็นไปของบ้านเมือง นัยของวาทกรรมดังกล่าวสะท้อนถึงการจัดตำแหน่งแห่งที่และแบ่งแยกการเมืองให้ห่างไกลออกจากประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2566
ผู้อ่านหลายท่านอาจคุ้นเคย "แลไปข้างหน้า" ในฐานะอมตะวรรณกรรมของศรีบูรพา แต่หากสืบสาวย้อนกลับไปจะพบว่า "แลไปข้างหน้า" ถูกใช้เป็นชื่อบทความซึ่งวิพากษ์วิจารณ์การเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในช่วงปี พ.ศ. 2492 เพื่อมองไปยังอนาคตข้างหน้าของสังคมไทยด้วยความหวัง
Subscribe to กุหลาบ สายประดิษฐ์