กุหลาบ สายประดิษฐ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนตำหนิการเลือกตั้งสภาเทศบาลใน พ.ศ. 2492 ที่มีการรายงานถึงการกระทำที่เป็นการทุจริต โดยเฉพาะอุบายพลร่มและไพ่ไฟ และการเสนองบประมาณประจำปี พ.ศ. 2493 ที่สภาผู้แทนราษฎรได้มีการทักท้วงถึงการใช้งานที่ผิดประเภทและการเพิ่มจำนวนของงบประมาณ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์ระบบราชกาารของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ปี 2492 ว่าไม่มีหลักและไม่มีระเบียบ มีรูปแบบเผด็จการโดยใช้กรมโฆษณาการเป็นเครื่องมือทางการเมืองและดำเนินนโยบายตามอังกฤษและสหรัฐอเมริกา
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์มาตรการดูแลความปลอดภัยของราษฎรในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม จากอุบัติเหตุโป๊ะคว่ำ 29 ตุลาคม 2492 แต่เจ้าหน้าที่ 3 ท่านที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้ได้ปฏิเสธความรับผิดชอบ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึง การที่ประเทศไทยไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2492 ภายหลังจากเหตุการณ์การจี้นายควง อภัยวงศ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึงประชาธิปไตยในสมัย พ.ศ. 2492 ที่อยู่ในระยะเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตย โดยมีกรมโฆษณาการเรื่องราวประชาธิปไตยทางวิทยุกระจายเสียง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ชี้ให้เห็นว่า ภายหลังจากการแถลงนโยบายของรัฐบาล หากเกิดปัญหาในรัฐบาลนายกรัฐมนตรีต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบคณะรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในปี 2492 ที่แม้จะได้คะแนนเสียงลงมติไว้วางใจผ่านแต่การที่ทำให้รัฐสภาไม่มีฝ่ายค้านนับเป็นปัญหาที่ทำให้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุล
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์เรื่องการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2492 ว่าเป็นเสมือนคำอธิษฐานที่ไม่สามารถดำเนินการในทางปฏิบัติให้เป็นประโยชน์แก่ราษฎรได้โดยเฉพาะเรื่องการราชทัณฑ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2567
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้านได้วิพากษ์ตำหนิ การกระทำของรัฐบาลและบุคคลที่เกี่ยวข้อง และข้อเสียนโยบายของรัฐบาลที่ได้แถลง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to กุหลาบ สายประดิษฐ์
28
กันยายน
2567
การอภิปรายในรัฐสภาสิ่งสำคัญของการอภิปรายคือ การแถลงและอภิปรายนโยบายของรัฐบาลในการปกครองประเทศนับว่าเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ที่แท้จริงของประชาชน แต่การสาบาลซ้ำของรัฐบาลในรัฐสภากลับเป็นการสร้างความไม่น่าเชื่อถือให้กับประชาชนในพื้นที่รัฐสภา