ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

กุหลาบ สายประดิษฐ์

บทบาท-ผลงาน
10
พฤศจิกายน
2565
คดีกบฏที่หนังสือพิมพ์เรียกกันว่า “กบฏ 10 พฤศจิกา” ซึ่งเปนเรื่องครึกโครมตั้งแต่วันจับกุมจนถึงวันนี้นั้น ภายหลังที่ผู้ต้องหาได้เปิดเผยความจริงบางประการของกระบวนการสอบสวนขึ้นที่ศาลแล้ว ประชาชนที่ไปฟังคำแถลง และได้อ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่พากันขนานนามกบฏชุดนี้ว่า กบฏสันติภาพบ้าง, กบฏปอลิโอบ้าง, กบฏแฟนซีบ้าง, กบฏสงเคราะห์ประชาชนบ้าง, กบฏเสรีภาพบ้าง, กบฏหนังสือพิมพ์บ้าง รวมทั้งกบฏอิสานสัมพันธ์ เมื่อตำรวจได้จับกุมนักศึกษา ม.ธ.ก. รุ่นเยาว์อีกชุดหนึ่งที่ร่วมกันจัดงานรื่นเริงนักศึกษาชาวอิสานและได้ออกหนังสืออิสานสัมพันธ์มาคุมขังไว้
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2565
“งานรื่นเริงของพลเมืองในระบอบใหม่” เป็นกิจกรรมสำคัญที่ถูกจัดขึ้นอย่างแพร่หลายในยุคสมัยรัฐบาลคณะราษฎรนับตั้งแต่หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ภาวะตาสว่างเกิดขึ้นจากการเข้าถึงองค์ความรู้ และการสานต่ออุดมการณ์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
Subscribe to กุหลาบ สายประดิษฐ์