ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คณะราษฎร

เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กรกฎาคม
2568
ปราโมทย์ พึ่งสุนทร ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยเป็นสมาชิกคณะราษฎรที่ปฏิบัติภารกิจสำคัญในการควบคุมบุคคลสำคัญของฝ่ายสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พร้อมทั้งร่วมงานกับคณะราษฎรในพระที่นั่งอนันตสมาคม ต่อมาเขายังได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 และพฤฒิสภา โดยมีบทบาทสำคัญในการคัดค้านรัฐบาลที่ไม่ยึดหลักประโยชน์ของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
28
มิถุนายน
2568
พรรณิการ์ วานิช อธิบายว่า "เอกราษฎร์" คืออำนาจของประชาชน พร้อมเสนอแนวคิด "ชาตินิยมพลเมือง" ที่รักชาติบนพื้นฐานของความหลากหลายโดยไม่เกลียดชาติอื่น เธอชี้ว่าชนชั้นนำใช้วาทกรรมรักชาติเบี่ยงเบนปัญหาการบ่อนทำลายเอกราษฎร์ และเชื่อว่าหากประชาชนเข้าใจปัญหานี้ จะนำไปสู่รัฐบาลที่สามารถพิทักษ์เอกราษฎร์ได้อย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
26
มิถุนายน
2568
ประชาธิปไตยตามเจตนารมณ์คณะราษฎร คือ การที่อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนทุกกลุ่ม ไม่ใช่เพียงชนชั้นนำ พร้อมวิพากษ์แนวคิดชาตินิยมที่เน้นผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มว่าเป็นต้นเหตุความขัดแย้งและสงคราม
25
มิถุนายน
2568
วันที่ 24 มิถุนายน 2568 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 93 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม หรือเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
บทสัมภาษณ์
24
มิถุนายน
2568
วาระ 93 ปี การเดินทางของประชาธิปไตยไทยยังคงผันผวนและไม่มั่นคง กระทั่งความทรงจำเรื่องคณะราษฎรถูกปลุกขึ้นอีกครั้งผ่านขบวนการเคลื่อนไหวร่วมสมัยที่สะท้อนเจตนารมณ์ในการจำกัดอำนาจและเรียกร้องการปฏิรูปอย่างแท้จริง.
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2568
บางส่วนของเนื้อหาในวันก่อการอภิวัฒน์เกี่ยวกับบทบาทและลักษณะนิสัยของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) จากหนังสือเบื้องหลังการปฏิวัติ 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2568
คณะราษฎรชาวบ้าน เป็นกลุ่มบุคคลระดับสามัญชนที่ร่วมขบวนการอภิวัฒน์สยาม 2475 โดยพวกเขามีส่วนสำคัญในฐานะสมาชิกสายพลเรือนผ่านการจัดตั้งเครือข่ายร่วมอุดมการณ์ เพื่อก่อการปฏิวัติครั้งสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2568
บันทึกนี้ถ่ายทอดบทบาทของพระยาพหลพลพยุหเสนาในฐานะผู้นำที่ยืนหยัดพิทักษ์เจตนารมณ์ของคณะราษฎร ทั้งในเหตุการณ์ 24 มิถุนา 2475 และ 20 มิถุนา 2476 ด้วยท่าทีสุขุมแต่เด็ดเดี่ยว ท่านได้แบกรับความเปลี่ยนแปลงของระบอบใหม่อย่างมั่นคง จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของความชอบธรรมในระบอบรัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2568
ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังเก่า เป็นศูนย์กลางราชการแห่งใหม่หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ที่แฝงหลัก 6 ประการของคณะราษฎรทั้งผ่านสถาปัตยกรรมและการพัฒนาเมืองร่วมสมัย โดยประยุกต์เข้ากับประวัติศาสตร์จังหวัดอยุธยา
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มิถุนายน
2568
บทความวิเคราะห์การคล้องช้างในภาพยนตร์ พระเจ้าช้างเผือก ว่าเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ครั้งสุดท้ายของการคล้องช้างจริงในสยาม ร้อยเรียงประวัติศาสตร์จากสมัยอยุธยา รัตนโกสินทร์ จนถึงยุครัฐบาลคณะราษฎร พร้อมชี้ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของความทรงจำและการเมืองเรื่องอดีต
Subscribe to คณะราษฎร