ควง อภัยวงศ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2565
วันนี้ 17 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2565 ครบรอบ 67 ปี แห่งการประหาร 3 จำเลยคดีสวรรคตรัชกาลที่ ๘
นายเฉลียว ปทุมรส .. จำเลยที่ 1
นายชิต สิงหเสนี .. จำเลยที่ 2
นายบุศย์ ปัทมศริน .. จำเลยที่ 3
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2565
เริ่มต้นจากการเดินทางไปสู่ค่าย “สนามบินเต่างอย” เทือกเขาภูพาน จังหวัดสกลนคร เนื่องจากขบวนการเสรีไทยเป็นความลับอย่างยิ่งยวด การที่จะเดินทางเข้าค่ายเต่างอย จังหวัดสกลนครได้ จะต้องมีคนแนะนำหรือนำเข้าไป
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์”
“เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ”
“ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ธันวาคม
2564
รัฐธรรมนูญหลายประเทศ มักใช้พื้นที่ของ “คำปรารภ” อันเป็นข้อความที่ปรากฏเป็นส่วนแรกของรัฐธรรมนูญ ในการบอกเล่าถึงอุดมการณ์ร่วมกันของชาติ อุดมการณ์ของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ที่ระบุถึงหลักเสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ อันเป็นหลักการสำคัญของฝรั่งเศส ขณะที่คำปรารภของรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กล่าวถึงการสถาปนารัฐธรรมนูญโดยประชาชน ด้านคำปรารภของ รัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ บอกเล่าถึงความภาคภูมิใจของชาวเกาหลีในประวัติศาสตร์ของชาติ อิสรภาพจากการปกครองญี่ปุ่น ภารกิจในการปฏิรูปประชาธิปไตย และมีความมุ่งมั่นที่จะรวมชาติให้เป็นหนึ่งเดียว เสริมสร้
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ธันวาคม
2564
“............
วนเวียนมาก็นานแล้วกับความทรงจำเก่าๆ อาจจะถึงเวลาที่ใกล้จะต้องจบลงเสียทีกระมัง สงครามก็ใกล้จะสิ้นสุด และงานการหน้าที่ของเสรีไทยในอเมริกาก็บรรลุตามที่มุ่งหมายเอาไว้แล้ว ด้วยความร่วมมือของคนหลายฝ่าย ทั้งเสรีไทยในประเทศ ทั้งเสรีไทยในอเมริกาด้วยกันที่รับผิดชอบหน้าที่อื่นที่ไม่ใช่งานสนามรบโดยตรง
อาจจะยังคงเหลืองานอยู่อีกส่วนหนึ่งที่ยังมิได้กล่าวถึงโดยเฉพาะ นั่นก็คือ งานของพวกผู้หญิง เขาทำอะไรกัน แล้วคราวหน้าก็คงจะจบลงด้วยเรื่องว่าพวกเขาอยู่ที่ไหนเมื่อประเทศสงบสงคราม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
พฤศจิกายน
2564
ในที่สุด กลุ่มนายทหารนอกประจำการนำโดย ผิน ชุณหะวัณ กาจ กาจสงคราม เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถนอม กิตติขจร ประภาส จารุเสถียร ก็ทำรัฐประหารเป็นผลสำเร็จ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2489 ที่มความเป็นประชาธิปไตยอย่างมาก และประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใต้ตุ่ม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2564
ท่ามกลางกระแสข่าวความพยายามก่อการรัฐประหารที่ยังคงดำรงอยู่ตลอดเวลา แต่พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ยังคงมีความมั่นใจในเสถียรภาพในรัฐบาลของตนจนถึงขนาดกล่าวว่า “นอนรอปฏิวัติมานานแล้ว ไม่เห็นปฏิวัติเสียที”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to ควง อภัยวงศ์
26
ตุลาคม
2564
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นจำนวนมากที่สุดในโลก หากนับตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันแล้ว เรามีรัฐธรรมนูญประกาศใช้ถึง 20 ฉบับ