ควง อภัยวงศ์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
ธันวาคม
2567
เรื่องเล่าเกร็ดประวัติศาสตร์ บางส่วนของเหตุการณ์สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ในพื้นที่อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กับเหตุการณ์ปฎิบัติการต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นบนขบวนรถไฟสายใต้ที่ใช้บรรทุกหีบธนบัตร
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
พฤศจิกายน
2567
สัมผัส พึ่งประดิษฐ์ เขียนถึงบทบาทและผลงานสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่การอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิตในปี 2526
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อเท็จจริงเรื่องการร่วมกับสายนายทหารผู้ใหญ่และเชิญพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร และวิจารณ์กรณีที่ ร.ท.ประยูรฯ เล่าว่าได้ “ชักจูง” ปรีดีให้คิดอภิวัฒน์เพื่อตอบโต้การบิดเบือนทั้ง 2 กรณีในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึง การที่ประเทศไทยไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2492 ภายหลังจากเหตุการณ์การจี้นายควง อภัยวงศ์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในปี 2492 ที่แม้จะได้คะแนนเสียงลงมติไว้วางใจผ่านแต่การที่ทำให้รัฐสภาไม่มีฝ่ายค้านนับเป็นปัญหาที่ทำให้ขาดการตรวจสอบและถ่วงดุล
บทความ • บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เสนอให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ 2 ประกาคือ ประยูร ภมรมนตรี ไม่ได้เป็นผู้ชักจูงผู้ร่วมก่อการหลักของการอภิวัฒน์ และอุดมการณ์ประชาธิปไตยเกิดในนักเรียนนอกที่สามัคยานุเคราะห์สมาคมตั้งแต่ก่อนประยูรเดินทางมายุโรป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2567
หนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้า โดยนายประยูร ภมรมนตรี ได้บิดเบือนประวัติศาสตร์คณะราษฎรและกลุ่มการเมืองของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจ และความขัดแย้งภายในคณะราษฎรเรื่องการลาออกของหลวงเดชสหกรณ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2567
สุนทรพจน์ของรู้ธ หรือนายปรีดี พนมยงค์ และ 79 ปี พิธีสวนสนามของขบวนการเสรีไทย ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นการยืนยันชัยชนะของประชาชนและขบวนการเสรีไทยหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กันยายน
2567
สาส์นของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงนายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516 อภิปรายเรื่องการเลือกตั้ง พ.ศ. 2489-2500 โดยเน้นการวิเคราะห์ไปที่การเลือกตั้ง 15 ธันวาคม 2500 โดยใช้สถิติจากหนังสือรายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทยเล่ม 2 ประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าว
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ควง อภัยวงศ์
15
กันยายน
2567
หลังจากการอภิวัฒน์สยาม ในระหว่างทางนี้ความเป็นประชาธิปไตยในแผ่นดินยังไม่คงมากนัก แต่กลับก่อให้เกิดนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกของประชาชนและผู้แทนที่มาจากพื้นที่นอกเมืองหลวงได้มีพื้นที่ทางการเมืองในรัฐสภา