ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ควง อภัยวงศ์

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
กันยายน
2567
อัตชีวประวัติของนายเล้ง ศรีสมวงศ์ ในการทำงานด้านการคลัง และการธนาคาร โดยเฉพาะในช่วงที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาตารแห่งประเทศไทย กับการดำเนินงานด้านธนาคารพาณิชย์ของเอกชน และความสัมพันธ์กับนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
กรกฎาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้บรรยายถึงบรรยากาศในสภาวันจันทร์ของการประชุมอภิปรายทั่วไปของฝ่ายค้านในการวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลคือ พรรคประชาธิปัตย์กับคณะรัฐบาลของนายพล ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2567
การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับประชาธิปไตยสมบูรณ์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เกิดขึ้นในรัฐบาลสมัยคณะราษฎร จากแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญฉบับ 2489 มีรูปแบบที่เป็นประชาธิปไตยสมบูรณ์ซึ่งมีหลักการสำคัญในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง ระบบสองสภาฯ คือสภาผู้แทนราษฎรกับพฤฒสภาต้องมาจากการเลือกตั้งของราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
แนวคิด-ปรัชญา
1
กุมภาพันธ์
2567
พรรคการเมืองฝ่ายค้าน เป็นสิ่งที่มีประโยชน์อย่างมาก และขาดไม่ได้ เพราะการเมืองของบ้านเราในยุคนี้เต็มไปด้วยความเลอะเทอะ ความไม่สงบของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้การปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยนั้นเป็นไปด้วยความไม่ราบรื่น
บทบาท-ผลงาน
24
มกราคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามนับตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม 2481 ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของอุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ในสยาม โดยตั้งโรงงานกลั่นแอลกอฮอล์แบบทันสมัยแห่งแรกที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2566
เรื่องราวอัตชีวประวัติของท่านเมื่อครั้นท่านยังเยาว์วัย บุคลิก นิสัย และวีรกรรมเมื่อสมัยเป็นนักเรียนอังกฤษ ก่อนที่ท่านจะรับการชักชวนเป็นสมาชิกคณะราษฎร ร่วมปฏิบัติภารกิจกู้ชาติในฐานะสมาชิกเสรีไทย และกลายเป็นนายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 แม้จะเป็นเพียง 17 วัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
Subscribe to ควง อภัยวงศ์