ความเป็นอนิจจังของสังคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2566
วิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งสองประการคือ วิถีวิวัฒน์และวิถีอภิวัฒน์ รวมไปถึงความหมายและรากที่มาของศัพท์ทางวิชาการอย่าง “ไดอาเล็คติคส์” ที่แปลได้ว่า ประติการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2566
ความสัมพันธ์ทางการผลิตและพลังในการผลิต ล้วนเกี่ยวโยงระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และทรรศนะทางสังคมที่ดำรงอยู่กับชีวปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้คนในแต่ละโครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2566
สถาบันและระบบการเมืองตั้งอยู่บนรากฐานแห่งสภาพความเป็นอยู่ทางชีวปัจจัยของสังคม กล่าวคือ ความต้องการในการดำรงชีพของมนุษย์เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบันและระบบการเมือง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2566
สมุฏฐาน เพื่ออธิบายถึงเหตุหรือที่มาของสรรพสิ่ง ความจริงที่มนุษย์รับรู้ ซึ่งประเด็นปัญหาสำคัญทางอภิปรัชญาว่าด้วยความจริงและการรับรู้ของมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทั้งสองนี้ ข้อโต้แย้ง และข้อเข้าใจผิด รวมไปถึงแนวคิดทั้งสองนี้ที่สัมพันธ์อย่างไรเปรียบกับร่างกายมนุษย์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to ความเป็นอนิจจังของสังคม
24
ตุลาคม
2564
“สิ่งทั้งหลายในโลกนี้เป็นอนิจจัง ไม่มีสิ่งไดนิ่งคงอยู่กับที่ ทุกสิ่งที่มีอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง”