ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ความเป็นอนิจจังของสังคม

แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2567
ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ ประกอบด้วย ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
17
มิถุนายน
2567
3 บทเรียนสำคัญที่ได้จากประวัติศาสตร์ของคณะราษฎร คือ แนวทางในการศึกษาและวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ การทบทวนข้อผิดพลาดในอดีตของคณะราษฎร และหนทางสู่ความสมบูรณ์ของประชาธิไตยในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
22
เมษายน
2567
บทความนี้อธิบายความหมายของศัพท์ไทย "ปฏิวัติ" "อภิวัฒน์" และ "วิวัฒน์" ตามทัศนะของปรีดี พนมยงค์ โดยเสนอให้ใช้ "อภิวัฒน์" แทน "Revolution" และ "วิวัฒน์" แทน "Evolution" พร้อมยกแนวคิดเลนินเรื่องวิธีสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งไม่ควรเป็นแนวทางตายตัว
ชีวิต-ครอบครัว
10
กุมภาพันธ์
2567
สุ. จิ. ปุ. ลิ. พุทธสุภาษิตที่จะสอนให้เรามีสติในการรับฟังสิ่งต่างๆ ไตร่ตรองเพื่อหาข้อเท็จจริง และจดบันทึกเพื่อเตือนใจ
แนวคิด-ปรัชญา
28
ธันวาคม
2566
เมื่อการเบียดเบียนหมดไป ยุคมิคสัญญีย่อมสิ้นสุดลง และยุคใหม่คือยุคศรีอารยเมตไตรยก็เกิดขึ้นมาแทนที่ สอดคล้องกับแก่นธรรมที่พระอรรถกถาจารย์นำมาสอน เราจึงควรศึกษาให้เข้าใจถ่องแท้ว่าอะไรเป็นจิตธรรมและอะไรเป็นสสารธรรม และเข้าใจกฎแห่งอนิจจังของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อนำมาใช้อย่างถูกต้องตรงกับกฎธรรมชาติและกฎวิทยาศาสตร์ทางสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2566
วิถีแห่งการเปลี่ยนแปลงทั้งสองประการคือ วิถีวิวัฒน์และวิถีอภิวัฒน์ รวมไปถึงความหมายและรากที่มาของศัพท์ทางวิชาการอย่าง “ไดอาเล็คติคส์” ที่แปลได้ว่า ประติการ
แนวคิด-ปรัชญา
13
พฤศจิกายน
2566
ความสัมพันธ์ทางการผลิตและพลังในการผลิต ล้วนเกี่ยวโยงระหว่างเศรษฐกิจ การเมือง และทรรศนะทางสังคมที่ดำรงอยู่กับชีวปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้คนในแต่ละโครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2566
สถาบันและระบบการเมืองตั้งอยู่บนรากฐานแห่งสภาพความเป็นอยู่ทางชีวปัจจัยของสังคม กล่าวคือ ความต้องการในการดำรงชีพของมนุษย์เป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบันและระบบการเมือง
บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
Subscribe to ความเป็นอนิจจังของสังคม